Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพจิตและปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพจิตและปัญหาเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
เป็นกลุ่มอาการที่ประกอบด้วยอาการแสดงของความผิดปกติด้านอารมณ์ การคิดรู้และการทำหน้าที่ด้านร่างกาย
สาเหตุของภาวะซึมเศร้า
1.ปัจจัยทางชีวภาพ : ความไม่สมดุลของสารสื่อประสาทและการสูญเสียหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ
2.ปัจจัยทางด้านจิตใจ : การเบี่ยงเบนด้านการคิดรู้เหตุการณ์ชีวิตที่ก่อให้เกิดความเครียด
3.ปัจจัยทางสังคมและประชากร : เพศหญิงเสี่ยงมากกว่าเพศชาย 2-3 เท่า ผู็ที่ไม่ได้สมรสอยู๋ตามลำพัง ขาดแหล่งให้การสนับสนุนทางสังคม
4.ปัจจัยเสี่ยง : ผู้สูงอายุเพศหญฺิง มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นซึมเศร้า สถานะทางเศรษฐกิจสังคมมต่ำ มีโรคร่วมหลายโรค เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
อาการหลัก : มีอารมณ์ซึมเศร้า เกิดขึ้นติดต่อกันเป็นเวลา 2 อาทิตย์ขึ้นไป ไม่มีความสุขและไม่สนใจในสิ่งต่างๆที่ปกติเคยสนใจ
อาการอื่นๆ : ไม่มีความมั่นใจ คุณค่าในตนเองลดน้อยลง รู้สึกผิดหรือบาปอย่างไม่สมเหตุสมผล มีความคิดหรือพฤติกรรมอยากฆ่าตัวตาย เป็นต้น
การวินิจฉัย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
ตรวจคัดกรอง 2Q
ใช้เครื่องมือประเมิน 9Q, GDS, TGDS
การรักษา
1.รักษาด้วยยา : ยา Venlafaxine เป็นต้น
2.ไฟฟ้ารักษา (electroconvulsive therapy)
3.จิตบำบัด เช่น CBT, IPT, PST
4.การช่วยเหลือทางสังคม
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า
การค้นหาภาวะซึมเศร้าตั้งเเต่ระยะแรก โดยใช้การประเมินการคิดรู้หรือสภาพสมอง MMSE, SGDS, SIG E CAPS
การพยาบาลเพื่อลดความรุนแรงภาวะซึมเศร้า โดยการลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะซึมเศร้า เช่น หลีกเลี่ยงการแยกผู้สูงอายุออกจากสังคม และมีการการให้ยาตามแนวทางการรักษา ประสานการรักษากับแพทย์และจิตเเพทย์
การป้องกันอันตรายอันเกิดจากภาวะซึมเศร้า
การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้านจิตใจ โดยการให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมหรืองานอดิเรกที่ชอบร่วมกับผู้อื่น
ปัญหาเพศสัมพันธ์ (Sexual dysfunction)
ความเชื่อและความเข้าใจผิดที่พบได้บ่อยๆ
ผู้สูงอายุไม่ควรคิดเรื่องเพศ
เพศสัมพันธ์ในวัยสูงอายุเป็นเรื่องน่าอาย
การมีเพศสัมพันธ์กับเด็กขะช่วยเพิ่มพลังทางเพศ
สมุนไพร อวัยวะสัตว์ จะเพิ่มพลังทางเพศ
ผู้สูงอายุที่ยังคิดเรื่องเพศเป็นความผิดปกติ
เพศสัมพันธ์ที่เหมาะสมส่งผลดีต่อผู้สูงอายุ
จัดเป็นการออกกกำลังกายอย่างหนึ่ง
การมีกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้มีการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายดีขึ้น
เกิดความเชื่อมั่นในตนเองและเกิดความพึงพอใจ
ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
ปัจจัยที่ส่งผลต่อเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
1.การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย เช่น การตอบสนองทางเพศลดลง มีกาตื่นตัวของอวัยวะเพศลดลง เป็นต้น
2.ปัญหาสุขภาพ เช่น ต่อมลูกหมากอักเสบ ไขสันหลังถูกกดจากโรคข้อเสื่อม Pakinsonism เป็นต้น
3.การใช้ยาบาลชนิด เช่น ยารักษาความดันโลหิต ยาแก้แพ้
ปัญหาเกี่ยวกับความบกพร่องในการทำหน้าที่ทางเพศ
1.Erectile Dysfunction (ED) การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
อาการ : อวัยวะเพศชายไม่เเข็งตัวหรืออ่อนตัวเร็วจนไม่สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้
สาเหตุ : พบในผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดในอวัยวะเพศ หรือเกิดตากความเครียด วิตกกังวล ทัศนคติและความเชื่อในเรื่องเพศ
2.Premature Ejaculation (ลมปากอ่าว, นกกระจอกไม่ทันกินน้ำ)
อาการ : ฝ่ายชายถึงจุดสุดยอดเร็วจนไม่สามารถทำให้ฝ่ายหญิงเกิดความพึงพอใจได้
สาเหตุ : ทางจิตใจ ได้แก่ ความเครียด ความวิตกกังวล
3.Frigidity (เฉยชาทางเพศ)
อาการ : เพศหญิงเฉยชา ขาดการตอบสนองทางเพศ
สาเหตุ : การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายตามวัย และเกิดจากความเครียด ความวิตกกังวล ซึมเศร้าและทัศนคติทางเพศ
4.Dyspareunia (เจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์)
อาการ : ฝ่ายหญิงเจ็บเวลามีเพศสัมพันธ์เนื่องจากอวัยวะเพศขาดการหล่อลื่นทำให้เกิดการเสียดสีจนบาดเจ็บ
สาเหตุ : มีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัยและขาดความรู้สึก ขาดความต้องการและการตอบสนองทางเพศ
บทบาทของพยาบาลในการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านเพศสัมพันธ์
1.ประเมินปัญหาโดยการซํกประวัติเกี่ยวกับเรื่องเพศ
2.ประเมินการใช้ยาในผู้สูงอายุโดยเฉพาะยาที่ใช้ทั่วไปในการรักษาโรคที่มีผลกระทบต่อการแสดงออกด้านเพศสัมพันธ์
3.ประเมินการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ซ฿่งส่งผลต่อการตอบสนองทางเพศ
4.ใช้ข้อมูลที่ได้จากการประเมินปัญหามาแก้ไขความเข้าใจผิดในเรื่องเพศ
5.ส่งเสริมให้มีอัตมโนทัศน์ที่ดีเกี่ยวกับเรื่องเพศ
6.ให้คำแนะนำเป็นที่ปรึกษาและปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง