Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
หัวใจล้มเหลว
พยาธิสภาพ
เมื่อการทำหน้าที่ของหัวใจลดลงไม่สามารถชดเชยให้มี CO เพียงพอต่อความต้องมการร่างกาย
การเพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ
ในภาวะปกติหัวใจสามารถเพิ่ม CO ได้มากถึง 5 เท่าของระยะพัก
อาการแสดง
อาการแสดงภาวะหัวใจซีกขวาวาย
บวมกดบุ๋ม บริเวณข้อเท้าและขา ตับโต
อาจพบอาการคลื่นไส้ เบื่ออาหาร
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
มีน้ำในช่องท้อง
อาการแสดงภาวะหัวใจซีกซ้ายวาย
เหนื่อยขณะนอนหลับ
มีเลือดคั่งในหัวใจห้องบนซ้ายและปอด
ปัสสาวะออกน้อย หัวใจเต้นเร็ว
ผิวหนังส่วนปลายเย็นจากหลอดเลือดหัวใจหดตัว
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคอ้วน และกลุ่มอาการเมตาบอลิก
ผู้ที่เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
ผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง
การประเมิน
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
จำแนกหน้าที่ทางกาย
Class 2 มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมเล็กน้อย สบายเมื่อพัก
Class 3 ข้อจำกัดในการทำกิจกรรมมาก
Class 1 ผู้ป่วยไม่มีข้อกำจัดทางกิจกรรม
Class 4 ไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เลย
การพยาบาล
ดูแลให้ยาเพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ
ลดปริมาณโซเดียมและน้ำในร่างกาย ประเมินภาวะน้ำเกิน
ดูแลให้ยาลด after load และ pre load
ประเมินค่า PCWP และบึนทึกประเมินสัญญาณชีพ
จำแนกชนิดตามระดับความรุนแรง
Stage B HF ความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจ
Stage C HF เคยมีอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว
Stage A HF ความเสี่ยงต่อการมีโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจผิดปกติ
Stage C HF อยู่ในระยะสุดท้ายของโรค
หัวใจขาดเลือด
ปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะของคราบไขมันในหลอดเลือด
การไหลเวียนของเลือดในหัวใจ
กระบวนการเเข็งตัวของเลือด
กลุ่มอาการ metabolic และการอักเสบ
ความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมน
สิ่งแวดล้อมและยา
อาการ
เจ็บหน้าอก คลื่นไส้ อาเจียน ไข้ เหงื่ออกมาก ตัวเย็น อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด อาการทางจิตใจ
อาการเจ็บหน้าอกมี 3 แบบได่แก่ Angina pectoris, Unstable angina, myocardial infarction
สาเหตุและการเกิด
มีหลายสาเหตุ เช่น พยาธิสภาพของหลอดเลือดหัวใจ ลิ้นหัวใจตีบ ภาวะซีด กล้ามเนื้อหัวใจโต
ร้อยละ 70 เกิดการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจ cardiac marker
การตรวจพิเศษ
ความหมาย
หัวใจมีความไม่สมดุลย์ของการใช้เอาซิเจนความต้องการที่จะทำให้หัวใจขาดเลือดและหรือตายจากเลือดในหลอดเลือดหัวใจลดลงอย่างเฉียบพลัน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน บันทึกรายงานแพทย์เกี่ยวกับอาการเจ็บหน้าอก โดยคำนึงถึง PQRST
ประเมินสัญญาณชีพ oxygen saturation
หยุดกิจกรรมของผู้ป่วยเมื่อเกิดอาการเจ็บแล้วจัดท่านั่งแบบ semi fowler position
ติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบต่อเนื่อง
ดูแลให้รับยาขยายหลอดเลือดในรูปแบบยาอมใต้ลิ้น
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด ควรอธิบายเกี่ยวกับวิธีการตรวจ ซักประวัติแพ้ยา งดน้ำงดอาหารยกเว้นยาอย่างน้อย 4 ชม. ประเมินการทำหน้าที่ของไต ประเมินความเบาแรงของชีพจรบริเวณขาทั้งสองข้าง ทำความสะอาดบริเวณขาหนีบ
การพยาบาลหลังการผ่าตัด จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ไม่เกิน 30 องศา ตรวจสอบบริเวณผลที่ขาหนีบ ประเมินภาวะ bleeding ประเมินภาวะเจ็บหน้าอก แพ้สารทึบรังสี ประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัญหาในการสื่อสาร
ปัจจัยด้านสูงอายุ
ตา
ตาฝ้ามัว มองไม่ชัด
อวัยวะการพูด
มะเร็งกล่องเสียง หรือช่องปาก
ผู้สูงอายุที่จาะคอ รวมทั้งผู้สูงอายุที่
มีความจําเสื่อมในที่สุดผู้สูงอายุ
เหล่านี้มักจะมีปัญหาในการสื่อภาษา
หู
ความสามารถในการได้ยินลดลงโดยช่วงแรกการรับเสี่ยงที่มีความถี่สูงหรือเสียงแหลมจะสูญเสียไปก่อนต่อมาเป็นเสียงที่มีความถี่ปานกลางและต่ำ
เยื่อบุแก้วหูที่มีลักษณะแข็ง เหี่ยวลีบหรืออาจมีการอุดตันของขึ้หู
ความผิดปกติของการสื่อสารด้วยคำพูดในผู้สูงอายุ
Aphasia
ลักษณะอาการคือ พูดไม่ได้ หรือพูดได้หรือไม่เข้าใจภาษา
ประเภทของความผิดปกติของอะเฟเซีย มี4 ประเภท
มีปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษา แต่มีความเข้าใจในภาษาที่ปกติ (Broca’s Aphasia) ผู้ป่วยสามารถเข้าใจคําพูดของผู้อื่นได้ แต่พูดไม่ชัดและไม่สามารถบอกความต้องการของ
ตัวเองได้
ปัญหาเรื่องการนึกคําพูด (Nominal Aphasia) มักจะพูดอ้อมแต่ผู้ป่วยจะพูดคล่อง ชัดเจน ถูกหลักไวยากรณ์
ปัญหาเรื่องการรับรู้เข้าใจในภาษา (Wernicke’s Aphasia) พูดได้คล่อง แต่ไม่สามารถเข้าใจคําพูดนั้นๆได้
ปัญหาทั้งเรื่องการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจในภาษา (Global Aphasia) ป่วยมีปัญหาทั้งเรื่องการพูดและการเข้าใจในภาษาในระดับที่ใกล้เคียงกัน
การพยาบาล
แนะนําการสื่อสารโดยใช้ท่าทางแทนการพูด
ใช้วัตถุที่รับรู้ด้วยการมองเห็นช่วยในการสื่อสาร เช่น รูปภาพ วัตถุ ท่าทาง การสัมผัส หรือจัดกระดาษ ดินสอ ไว้ให้ผู้สูงอายุเขียนหรือวาดรูปโต้ตอบ
พูดช้า ชัด ถามทีละคําถาม ให้รอคําตอบ อาจต้องถามซ้ำตามจําเป็น
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุพูดจนจบ พยายามฟังและจับใจความ เปิดโอกาสในการถ่ายทอดความคิด
อธิบายสถานการณ์ การบําบัดรักษาและกิจกรรมทุกอย่างที่ต้องปฏิบัติกับผู้สูงอายุ
Dysarthria
เป็นความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อการพูด คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด พูดแบบลิิ้นแข็งๆ หรือพูดตะกุกตะกัก
การพยาบาล
บริหารใบหน้า เช่น เป่าลมห่อปาก ย่นหน้าผาก ยิ้ม นวดกล้ามเนื้อใบหน้า
บอกผู้สูงอายุเมื่อไม่สามารถเข้าใจคําพูดที่ผู้สูงอายุสื่อสาร
จัดท่านั่งหรือยืนในท่าตัวตรง จะช่วยให้ออกเสียงดีขึ้น
ถามในส่วนที่ไม่เข้าใจ ซึ่งจะทําให้ผู้สูงอายุพูดซ้ำในส่วนนั้นเท่านั้น
การสนทนาควรกําหนดระยะเวลาและให้หยุดเมื่อรู้สึกเหนื่อย
เมื่อรู้สึกคับข้องใจในการพูด ให้วิธีการอื่นทดแทน เช่น การชี้ แสดงท่าทาง วาดรูป
การสื่อสารที่ดี
ช่วยพัฒนาสัมพันธภาพเชิงบําบัดระหว่างพยาบาลและผู้สูงอายุ
ประสิทธิภาพการสืaอสารทีaมีความบกพร่อง ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจกันระหว่างผู้สูงอายุและคนในครอบครัวผู้สูงอายุ
กับพยาบาลหรือเจ้าหน้าทีaสุขภาพ
ช่วยให้พยาบาลได้มาซึaงข้อมูลสุขภาพที่เป็นจริง ก่อให้เกิดให้การวางแผนการพยาบาลสอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้สูงอายุและครอบครัว
ความล้มเหลวของกิจกรรมการดูแลหรือการบําบัดรักษาที่ต้องดําเนินการร่วมกัน
เป็นทักษะสําคัญในการพยาบาลผู้สูงอายุ
การสื่อสารที่ล้มเหลวอาจเนืaองมาจากสาเหตุปัจจัยตัวผู้สูงอายุ และผู้ดูแลหรือลูกหลาน
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการมองเห็น
เมื่อต้องเดินไปกับผู้สูงอายุ ต้องให้ผู้สูงอายุจับแขน ก่อนขึ้นบันไดให้หยุดเดินหรือรั้งไว้ บอกให้รับรู้
ผู้สูงอายุตาบอด ต้องส่งเสียงพูดเมื่อพบกัน แนะนําตัวเองและผู้ที่อยู่ด้วย และเมื่อจากไปต้องบอก
ตรวจเยี่ยมเพื่อสอบถามความต้องการเป็นระยะ
ประเมินว่าควรจะพูดคุยกับผู้สูงอายุทางด้านไหนจึงจะเหมาะสม
ไม่โยกย้ายของในห้อง หรือจัดของในห้องใหม่โดยไม่บอกให้ผู้สูงอายุรู้
พูดคุยด้วยเสียงปกติ และพูดด้วยท่าทางตามปกติที่เคยทํา เมื่อมีผู้เข้ามาใหม่ต้องแนะนํา บอกตําแหน่งที่อยู่
อาจให้แตะเบา ๆ ที่แขนเพื่อบอกตําแหน่ง
ตรวจสอบแสงสว่างที่เหมาะสมที่ช่วยในการมองเห็นที่เหลืออยู่
ความหมาย
การสื่อสาร คือ การส่งสารและรับข้อมูลจากโลกภายนอกทั้งโดยวัจนะและอวัจนะภาษาและส่งสารติดต่อแปลผลภายในร่างกายของมนุษย์ก่อนการตอบสนองป็นกระบวนการทํางานที่ต้องการทําหน้าที่ท้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาการแสดง
ไอเรื้อรัง พบในระยะแรกของโรค อาจมีหรือไม่มีเสมหะร่วมด้วย
แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด (Wheeze)
เหนื่อย หายใจลําบาก ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กช่วยในการหายใจผู้ป่วยต้องใช้แรงมากขึ้นในการ
หายใจ
เหนื่อยล้า น้ำหนักลด เบื่ออาหาร พบบ่อยในผู้ป่วยที่อยู่ในระยะรุนแรง
การวินิจฉัยโรค
Chest X-ray อาจพบปอดพองลมทั้งสองข้าง (Bilateral hyperinflation)
กะบังลมแบนราบ และหัวใจมีขนาดเล็ก
ความดันก๊าซในเลือดแดง (Arterial blood gas) อาจพบภาวะพร่องออกซิเจน มีการคั่งของ
คาร์บอนไดออกไซด์
ตรวจร่างกาย รูปร่างทรวงอกอาจพบว่าเป็นรูปถังเบียร์ (Barrel shape)
ได้ยินเสียงโปร่ง จากการคั่งค้างของลมในปอด
การซักประวัติ เช่น การสูบบุหรี่ สัมผัสสารเคมี และมลพิษ การติดเชื้อทางเดิน
หายใจ
สมรรถภาพปอด โดยใช้เครื่องสไปโรเมตรีย์
พยาธิสภาพ
การจํากัดการไหลของอากาศและการขังของอากาศในถุงลม (Airflow limitation and air tapping)
มีีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ความดันในปอดสูง
มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น
การรักษา
การรักษาด้วยออกซิเจน
การใช้ยา
การหยุดสูบบุหรี
การรักษาอื่นๆ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การขาด alpha1-antitrypsin
เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดโรคใกล้เคียงกัน ซึ่งเพศหญิง
มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่มากขึ้น
มลพิษในอากาศ การใช้ไม้ฟืนในการทําครัวในบ้าน ฝุ่นควัน สารเคมี
ความยากจน
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลัก
โรคหอบหืด
การพยาบาล
ฟังเสียงหายใจ เพื่อประเมินเสียงหายใจที่ผิดปกต
จัดท่าเพื่อระบายเสมหะ ให้เสมหะไหลตามแรงโน้มถ่วง
ให้ยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
เคาะปอด และการสั่นสะเทือนปอด จะทําให้เสมหะที่เกาะอยู่ในทางเดินหายใจหลุดออก
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง สามารถระบายเสมหะได้ดี ดูดเสมหะตามความจําเป็น
ฟังปอดก่อนและหลังทํากายภาพบําบัดปอด เพื่อประเมินประสิทธิภาพ ของการไอ และการ
ทํากายภาพปอด
จัดท่า High Fowler เพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ปอดได้ดี
ความทนในกิจกรรมลดลงเนื่องจาการหายใจลำบากิหารการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกะบังลม และเป่าปาก (purse lip)
ประเมินภาวะโภชนาการและพลังงานที่ควรได้รับในแต่ละวัน
จัดบรรยากาศให้เงียบสงบ เป็นการลดสิ่งเร้าจากภายนอก
มีควบคุมอาหารประเภทเกลือ เพราะการรับประทานอาหารที่มีเกลือสูงจะทําให้ร่างกายดูดน้ำกลับสูงเกิดการคั่ง
ของนํ้ำในปอดมากขึ้น
หลีกเลี่ยงอาหารร้อนจัดหรือเย็นจัด อาจกระตุ้นให้เกิดอาการไออย่างต่อเนื่องมากกว่า 5 นาที
ความดันโลหิตสูง
จุดมุ่งหมายในการประเมิน
เพื่อตรวจหาโรคที่เพิ่มความเสี่ยง
เพื่อตรวจหาโรคความดันโลหิตสูงทุติยภูมิที่อาจรักษาต้นเหตุได้
เพื่อประเมินร่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย
เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง
การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ตรวจร่างกาย หาTOD CVD
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Fasting plasma glucose
การซักประวัติ
การวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง
แนะนําให้วัดความดันโลหิตวันละ 2 ครั้ง โดยวัดตอนเช้าก่อนรับประทานยาลดความดันโลหิตและช่วง
เย็น เป็นเวลา 3-7 วันก่อนมาพบแพทย์
ถ้าวัดความดันโลหิต ≥ 140/90 มม. ปรอท ให้วัดความดันโลหิตซ้ำภายใน 2 สัปดาห์
แนะนําให้ใช้เครื่องวัดความดันโลหิตที่วัดที่ต้นแขน
แนะนําให้หยุดวัดความดันโลหิตที่บ้าน ถ้าการวัดความดันโลหิตทําให้ผู้ป่วยวิตกกังวล
ใช้ติดตามผลการรักษาในผู้ป่วยที่ได้รับยาลดความดันโลหิตทุกราย
ใช้ในการตรวจหาผู้ป่วยที่เป็น isolated office hypertension
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะโลหิตสูง
หยุดสูบบุหรี่ งดดื่มแอลกอลฮอล์
ขณะรับประทายาลดความดันโลหิตแนะนำผู้ป่วยเปลี่ยนท่าช้าๆ
ผ่อนคลายความเครียดพักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกำลังกายแบบแอโรบิกแบบสม่ำเสมอ
ลดรับประทานอาหารที่มีรสจัด โซเดียมสูง
ติดตามวัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนักตัว และวัดรอบเอวอยู่เสมอ
การรักษา
ก่อนได้รับยาต้องประเมินความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต CDV ใน 10 ปีข้างหน้า
เริ่มให้ยาลดความดันโลหิตทันทีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อ CVD สูง
การรักษาด้วยยา
กลุ่มความเสี่ยงปานกลาง เริ่มให้ยา BP >140/90 หลังคำแนะนำ 1 สัปดาห์
การปรับเปลียนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
ความหมาย
ระดับความดันโลหิต 140/90 mmHg
Isolated systolic hypertention
Isolated office hypertension
mask hypertention