Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ( part 3 ) การตรวจระบบกล้ามเนื้อเเละกระดูก musculoskeletal…
บทที่ 3 ( part 3 )
การตรวจระบบกล้ามเนื้อเเละกระดูก
musculoskeletal system
ใช้เทคนิคการดูเเละการคลำ โดยการสังเกต เช่น
การเดิน ลุกนั่ง จับสิ่งของ ดูท่าทาง ความคล่อง เป็นต้น
1. การตรวจกระดูกเเละข้อ
การตรวจความยาวเเละความเท่าของกระดูกเเขน
เเละขา วัดระหว่าง bony landmark
เเขนส่วนบน วัดจาก acromion process ถึง olecranon process ของ ulnar
เเขนส่วนล่าง วัดจาก olecranon process ถึง styloid process ของ ulnar
เเขนทั้งหมด วัดจาก acromion process ถึงปลายนิ้วชี้ทั้งสอง
ต้นขาหรือขาส่วนบน วัดจาก anterosuperior iliac spine ถึง medial condyle ของเข่า
ขาส่วนล่าง วัดจาก medial condyle ของเข่าถึง tibial malleolus ตาตุ่ม
ขาทั้งหมด วัดจาก anterior superior iliac spine ถึง tibial malleolus
การตรวจกระดูกสันหลัง
ให้ตรวจดูเเนวกระะดูก ความโค้งของกระดูกสันหลัง
ให้ผู้ตรวจมองด้านข้างของผู้ใช้บริการ ปกติเเนวของกระดูกสันหลังส่วนคอเว้าเข้า cervical concavity เเนวของกระดูกสันหลังส่วนอกจะโค้งออก thoraxic convexity เเนวของกระดูกสันหลังส่วนเอวจะเว้าเข้า lumbar concavity
การตรวจข้อ
ตรวจข้อทั้งสองข้างเปรียบเทียบกัน
บริเวณคอไปกระดูก สันหลัง เเขนเเละขา ดูขนาดรูปร่าง
ดูเเละคลำข้อ ว่ามีการบวม กดเจ็บ อุณหภูมิของข้อ ความพิการผิดรูป
คลำข้อเพื่อค้นหาเสียงเสียดสีในข้อ
รวมทั้งการขยับข้อเพื่อประเมินความมั่นคงของข้อ
ประเมินการการทำงานของข้อโดยการวัด
ขอบเขตการเคลื่อนไหว
การคลำเพื่อหาความผิดรูป เเละเสียงเสียดสีของข้อ สังเกตการเปลี่ยนเเปลง เสียงเเละความรู้สึกจาก
มือที่คลำ
การตรวจน้ำในข้อเข่า ballotment ของข้อเข่า เอามือลูบไล่น้ำจากส่วนเหนือข้อเข่าไล่ลงมาให้กองอยู่ด้านล่าง เอามือดันค้างไว้ ใช้นิ้วชี้กลางของมืออีกข้างเคาะเเละกดบริเวณกระดูก patella ถ้าพบคลื่นน้ำหรือการบวมเเสดงว่ามีน้ำในข้อ
ภาวะปกติ ท่ายืน เดิน ลุก นั่ง ปกติ กระดูกสันหลังไม่คด
โค้งเว้าปกติ กระดูกเเขน ขาสั้น ยาวเท่ากันกระดูดทั้งสองข้างเท่ากัน ไม่บวม ไม่เจ็บ ไม่มีกระดูกงอก ไม่มีน้ำในข้อ ข้อไม่ผิดรูป เคลื่อนไหวข้อปกติ
ภาวะผิดปกติท่ายืน เดิน ลุก นั่ง ผิดปกติ กระดูกสันหลังคด หลังเเอ่น กระดูกสันหลังส่วนเองเว้าผิดปกติ หลังโ่ก่งเป็นมุม gibbus กระดูกสันกลังยุบ เเละยื่นออกมา มีการบวม เเดง ร้อน กดเจ็บ เวลาขยับได้ยินเสียงผิดปกติ ผิดรูปไม่เท่ากัน มีน้ำในข้อ มีการหดรั่งของข้อ เล็กลีบ เคลื่อนไหวผิดปกติ
2. การตรวจกล้ามเนื้อ
ใช้เทคนิคการดู คลำ เเละวัด
การตรวจขนาดของกล้ามเนื้อ
ตรวจกล้ามเนื้อใบหน้า ศรีษะ คอ เเขน ขา ดูขนาดเปรียบเทียบกับทั้ง2ข้าง เเละให้สอบถามการกดเจ็บของกล้ามเนื้อรวมทั้งคลำดูก้อน ลักษณะที่ผิดปกติบนกล้ามเนื้อ
ภาวะปกติ ขนาดเท่ากันทั้ง 2 ข้าง เหมาะสมตามอายุ เพศ อาชีพ เเละการกำลังกายไม่มีตำเเหน่งกดเจ็บ ไม่มีก้อน
ภาวะผิดปกติ ขนาดทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน ไม่เหมาะสมตามวัย เพศ มีตำเเหน่งกดเจ็ย มีก้อน มีกล้ามเนื้อฝ่อลีบ atrophy
ใหญ่มาก hypertrophy
การตรวจความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ดูความดึงของกล้ามเนื้อ ขณะที่ไม่ทำงาน
วิธีตรวจ ให้ผู้ใช้บริการนั่งในท่าที่สบายไม่เกร็ง
จับส่วนทีี่ต้องการตรวจ เเละให้ทำการเคลื่อนไหว
จนสุดระยะการเคลื่อนไหว เเละในทุกทิศทาง
ภาวะปกติ กล้ามเนื้อมีความดึงตัวตลอดเวลา
ภาวะผิดปกติ มีความตึงตัวมากกว่าปกติ hypertonia หรือน้อกว่าปกติ hypotonia มี spasticity หรือความต้านทางเพิ่มขึ้นเเบบ
หดเกร็งเกิดเฉพาะช่วงเเรก ที่ถูกทำการเคลื่อนไหว มี rigidity
การตรวจกำลังของกล้ามเนื้อ
เช่น กล้ามเนื้อศรีษะ คอ ไหล่ กล้ามเนื้อที่ใช้ใน
การเหยียด งอของเเขนเเละขา
สังเกตดูการเดิน นั่ง นอน
การตรวจ hemiparesis ปลายขาด้านอ่อนเเรงจะ
เเบะออกมากกว่าอีกข้าง
ตรวจกำลังของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ให้ผู้ใช้บริการหันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง จนสุด ผู้้ตรวจวางมือข้างเเก้มด้านตรงข้ามที่หันไป
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อมือ
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อต่อบริเวณกระดูกสันหลัง
ตรวจกล้ามเนื้อไหล่ในการยกเเขน
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อไหล่
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อศอก
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อนิ้วมือ
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อสะโพก
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อเข่า
การตรวจขอบเขตการเคลื่อนไหวของข้อเท้า