Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3การตรวจร่างกาย หัวใจ ปอด เต้านม(2), ดาวน์โหลด (11), ดาวน์โหลด (12),…
บทที่3การตรวจร่างกาย หัวใจ ปอด เต้านม(2)
การตรวจทรวงอกและปอด (Thorax and lung)การตรวจทรวงอกและปอดเป็นการประเมิน การทําหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวกับการได้รับอากาศ ผู้ตรวจต้องทราบ
chest landmark
anatomical landmark
Surface anatomy
ของปอด จึงจะสามารถตรวจได้อย่างถูกต้อง และบอกความผิดปกติที่พบได้
Chest landmark
Chest landmarkเป็นเส้นสมมติกําหนดให้แนวทางและขอบเขตของทรวงอก ได้แก่
3.Anterior Axillary Line (AAL)
4.Mid Axillary Line (MAL)
2.Mid Clavicular Line (MCL)
Posterior Axillary Line (PAL)
1.Mid Sternal Line (MSL)
Vertebral Line
Scapular Line
anatomical landmark
anatomical landmark เป็นจุดสําคัญที่ใช้ในการตรวจทรวงอก และปอด
Angle of Louis
Suprasternal notch
หัวนม (nipple)
Costal angle
Spinous process
กระดูกไหปลาร้า (clavicle)
Inferior angle of scapular หรือมุมแหลม
Costrovertebral angle (CVA)
Surface anatomy
เป็นตําแหน่งและการแบ่งกลีบปอด เพื่อให้ทราบตําแหน่งของปอดที่ทําการตรวจ ปอดกลีบบน (upper lobe) ปอดกลีบกลาง (middle lobe)ยอดปอด ขอบปอดด้านล่างหรือฐานปอด
ตรวจในท่านั่ง หากผู้รับบริการอาการหนักจะตรวจในท่านอน ตรวจด้านหลังและด้านหน้า ควรถอดเสื้อออกจนถึงระดับเอว ผู้รับบริการหญิงให้เปิดผ้าเฉพาะส่วนที่ตรวจและปิดคลุมส่วนหน้าอกไว้เมื่อตรวจเสร็จ เทคนิคในการตรวจทรวงอกและปอด ประกอบ ด้วยการดู คลํา เคาะ และฟัง
การดู สิ่งที่ต้องสังเกต คือ รูปร่างของทรวงอก ขนาดของทรวงอก การเคลื่อนไหวของทรวง
อก และผิวหนัง
1.1 รูปร่างของทรวงอกสังเกตได้จากโครงของกระดูกทรวงอก ความโค้งของกระดูกซี่โครง
กระดูกไหปลาร้ากระดูก sternum
ภาวะผิดปกติ รูปร่างทรวงอกที่ผิดปกติ
-Kyphosis หรือหลังโกง
-Scoliosis หรือหลังคด
-Pigeon chest หรือ อกนูน
-Funnel chest หรืออกบุ๋ม
-Barrel shape หรือ อกถังเบียร์
1.2 ขนาดของทรวงอก สังเกตทรวงอก 2 ข้าง เปรียบเทียบกันและสังเกตช่อง
ซี่โครง
ภาวะปกติ ทรวงอกขนาดเท่ากันทั้ง 2 ข้าง ช่องซี่โครงไม่แคบหรือกว้างเกิน
ภาวะผิดปกติ ทรวงอกไม่เท่ากัน ช่องซี่โครงแคบ
1.3 การเคลื่อนไหวของทรวงอก ทรวงอกจะขยายตัวออกเมื่อหายใจเข้าและจะแฟบลงเมื่อ ให้สังเกต อัตราการหายใจ ความลึก จังหวะ การเคลื่อนไหวของทรวงอกแต่ละข้าง
ภาวะปกติ : การเคลื่อนไหวทรวงอกสัมพันธ์กับการหายใจ และเท่ากันทั้ง 2ข้าง
ภาวะผิดปกติ : การเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่สัมพันธ์กับการหายใจ หรือไม่
การคลํา
2.1 การคลําส่วนต่าง ๆ ของทรวงอก ภาวะปกติ : rib cage จะยืดหยุ่น กระดูก sternum ไม่ค่อยเคลื่อนที่ ภาวะผิดปกติ : มีก้อน แผล ตําแหน่งกดเจ็บ มี crepitus 2.2 คลําการขยายตัวของทรวงอก ภาวะปกติ : ฝ่ามือทั้งสองรู้สึกถูกดันขยายออกเท่ากัน ภาวะผิดปกติ : ความรู้สึกถูกดันขยายขณะหายใจของมือทั้งสองข้างไม่เท่ากัน 2.3 การคลํา tactile (vocal) fremius
การเคาะทรวงอก (ปอด)
การเคาะทรวงอกด้านหลัง
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงเคาะชนิ ที่บริเวณหัวใจคือด้านซ้ายของกระดูก sternum
ภาวะผิดปกติ พบเสียง hyperresonance
การฟังมีการปฏิบัติ 3 อย่าง คือ
-การฟังเสียงหายใจ (breath sound)
-ภาวะปกติ ลักษณะเสียงที่ได้ยินจะเป็นไปตามตําแหน่งของปอด
-ภาวะผิดปกติเสียงหายใจเบากว่าปกติ เสียงหายใจมีลักษณะเปลี่ยนไป เสียงหายใจปกติที่พบในตําแหน่งที่ไม่ควรพบ
-การฟังเสียงพูด ice sound)
-การฟังเสียงผิดปกติ (adventitious Sound)
การตรวจหัวใจ (Heart)
การตรวจหัวใจ เป็นการประเมินการไหลเวียนที่ใช้เทคนิคทั้ง การดู การเคาะ การคลําและ การฟัง และมีการประเมินอาการแสดงอื่นประกอบด้วย เช่น อาการเขียว (cyanosis) อาการเหนื่อยหอบ
การดู สังเกตสีผิวหลอดเลือดดําบริเวณทรวงอก และรูปร่างทรวงอกโดยเฉพาะบริเวณ precordium ลักษณะรูปร่างและตําแหน่งการเต้น
ภาวะปกติ สีผิวทรวงอกเหมือนสีผิวกาย ไม่มีรอยโรค
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังเขียวคล้ำ อาจพบ spider nervi หลอดเลือดดําที่ผนังทรวงอกขยาย
การคลํา การคลําจะใช้ส่วนต่างๆ ของมือ
ภาวะปกติ apex beat คลําได้กว้างประมาณ 1-2 เซนติเมตร
ภาวะผิดปกติ apex beat เลื่อนจากตําแหน่งปกติ
การเคาะ เป็นการตรวจหาขอบเขตของหัวใจ
ทําให้ทราบขนาดหัวใจ
ภาวะปกติ ริมซ้ายของหัวใจจะอยู่ไม่เกินแนว mid clavicular line และริมขวา จะเกินขอบขวาของ sternum เล็กน้อยเท่านั้น
ภาวะผิดปกติ ริมซ้ายและริมขวาของหัวใจกว้างเกินปกติ
การฟัง การฟังนิยมฟังบริเวณลิ้นหัวใจ
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงหัวใจอย่างน้อย 2 เสียง
ภาวะผิดปกติ อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติ จังหวะ
ไม่สม่ำเสมอ
หลอดเลือด
การตรวจหลอดเลือดดำที่คอ (Jugular vein) และหลอดเลือดส่วนปลาย จะใช้เทคนิคการดูและ
การคลำ
การตรวจหลอดเลือดดำที่คอ ทำได้โดยการจัดท่านั่งศีรษะสูง 45 องศา หรือหนุนหมอน 2 ใบ
หันหน้าตรงให้กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid หย่อนตัวดูบริเวณด้านข้างของลำคอ
ภาวะปกติ ไม่เห็น jugular vein โป่งพองหรือ neck vein
engorge
ภาวะผิดปกติ jugular vein โป่งพอง ความดันเลือดดํา
jugular เกินกว่า 4 เซนติเมตร
เต้านม
การตรวจเต้านม เทคนิคที่ใช้คือ การดูและการคลํา ตรวจเฉพาะผู้หญิงและในผู้
ที่มีข้อมูลที่แสดงถึงความผิดโดยแบ่งตามเส้นแนวตั้งที่ลากตัดกับแนว
นอนที่หัวนม และเรียก quadrant เป็น
-upper inner (1)
-upper outer (2)
lower inner (3)
-lower outer (4)
ภาวะปกติ เต้านมทั้งสองข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก สีผิวอ่อน
กว่าผิวกาย ไม่มีก้อน
ภาวะผิดปกติ เต้านมขนาดใหญ่มากกว่าปกติ หรือทั้งสองข้าง
ไม่เท่ากันแตกต่างกันมากผิวหนัง มีสีแดง