Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ, บทที่-356-โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง-3,…
บทที่ 3
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกาย เป็นการประเมินโครงสร้างและหน้าที่ หรือลักษณะทางกายภาพ และหน้าที่ของร่างกาย โดยใช้เทคนิคการดู คล า เคาะ ฟัง ในการตรวจร่างกาย พยาบาลผู้ตรวจต้องมีความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ สรีรพยาธิวิทยา ้พิสัยของสิ่งที่ปกติ (normal range) มีทักษะในการตรวจอย่างเป็นล าดับขั้นตอน ไม่ละเลยส่วนใด และสามารถน าผลี่ได้ไปประมวลกับข้อมูลจากส่วนอื่นๆเพื่อการวินิจฉัยปัญหาของผู้รับบริการ
เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
เครื่องชั่งน้ำหนัก
ที่วัดส่วนสูง
ปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย (Thermometer)
เครื่องวัดความดันโลหิต
หูฟัง (Stethoscope)
นาฬิกา
เทปวัดขนาดหรือ ความยาว
ไฟฉาย
9.ไม้กดลิ้น
เข็มปลายทู่หรือปลายแหลม
11.สำลี
12.แผ่นทดสอบสายตา (Snellen’s Chard)
13.ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย
14.ถุงมือสะอาดและสิ่งหล่อลื่น
15.เครื่องส่องดูลูกตา (Ophthalmoscope)
16.ส้อมเสียง
17.เครื่องส่องดูภายในรูหู (Otoscope)
18.ไม้เคาะเข่า
19.ชามรูปไต หรือถุงพลาสติก
20.เครื่องถ่างรูจมูก (Nasal Speculum)
ลักษณะทั่วไป ผิวหนัง
ผม ขน เล็บ
-การรู้สติและสภาวะทางด้านจิตใจ
-ภาวะสุขภาพที่ปรากฎ
อาการแสดงของภาวะผิดปกติไม่สุขสบาย
-การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
-กิริยาอารมณ์และความร่วมมือการตรวจ
เสียงและการพูด
-ท่าทาง การเคลื่อนไหว และท่าเดิน
-การแต่งตัวและสุขวิทยาส่วนบุคคล
-กลิ่นลมหายใจและกลิ่นตัว
-สีหน้าที่แสดงออก
ศีรษะ ใบหน้า คอ
และต่อมน้ำเหลือง
การตรวจศีรษะ ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
ภาวะผิดปกติ คลำพบก้อนผิดปกติ ซึ่งต้องระบุลักษณะก้อนที่พบ พร้อมบอกตำแหน่งที่พบด้วย คลำพบต่อมน้ำเหลืองที่ท้ายทอยโต
การตรวจคอ
การตรวจคอ ใช้เทคนิค การดูและการคลำ เป็นการตรวจการทำงานของ
ภาวะผิดปกติ คอเอียง คอแข็ง ไม่สามารถก้มคอเอียงคอ หมุนคอ แหงนหน้า ยืดคอได้ หรือทำได้แตไม่สุด หรือมีอาการเจ็บปวดขณะทำ
การตรวจหลอดลมคอ
ใช้เทคนิค การคลำ ให้ผู้ใช้บริการอยู่ในท่านั่งหรือนอนหงาย หน้าตรง ก้มคอลงเล็กน้อยเพื่อให้กล้ามเนื้อหย่อน
ภาวะผิดปกติ หลอดลมเฉไปทางใด นิ้วที่แยงของฝั่งตรงข้ามจะแยงได้สะดวกกว่าและอาจคลำพบวงกระดูกอ่อนของหลอดลมได้
การตรวจต่อมไทรอยด์
เทคนิค การดูและการคลำ
ภาวะผิดปกติ มองเห็นต่อมไทรอยด์โตมีก้อน มี nodule นูนชัดเจน คลำต่อมไทรอยด์ได้โตมากและคลำได้ง่ายชัดเจน ผิวของต่อมอาจขรุขระ แข็ง และผิดปกติว
การตรวจต่อมน้ำเหลือง
ใช้เทคนิคการดูและ
การคลำโดยจะหาขนาด ความยืดหยุ่น ความยึดติดกับเนื้อเยื่อการอักเสบและผิวหนังที่ปกคลุม
ภาวะผิดปกติ พบก้อน นูน โต ซึ่งยืนยันโดยการคลำ
การตรวจหู
การตรวจหู ใช้เทคนิค การดู การคลำ
ภาวะผิดปกติ ใบหูสูงหรือตากว่าระดับมุมตา พบในผู้ป่วยสมอง ใบหูเล็กเกินอาจมี ผลต่อการได้ยิน
การตรวจต่อมน้ำลาย
อาจตรวจพร้อมกับการคลำต่อมน้ าเหลือง การตรวจจะสังเกตรูปร่าง ขนาด ความหนาแน่น การกดเจ็บ การเคลื่อนไหว ซึ่งปกติจะไม่เห็น แต่ถ้าโตขึ้นจะพบก้อนอยู่ด้านหน้าหู
การตรวจตา
ตรวจความสามารถในการมองเห็น
ตรวจลานตา
ตรวจเคลื่อนไหวของลูกตา
ตรวจตำแหน่งตา ลูกตา และบริเวณรอบตา
ตรวจรูม่านตา
ตรวจความใสของของกระจกตา
ตรวจตาขาวและเยื่อบุลูกตา