Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.1
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ การตรวจร่างกายโดยอายุรแพทย์
:, 60…
บทที่ 3.1
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
:
:star:การตรวจร่างกาย เป็นการประเมินโครงสร้างและหน้าที่หรือลักษณะทางกายภาพ และหน้าที่ของร่างกาย โดยใช้เทคนิคการดู คลำ เคาะ ฟัง ในการตรวจร่างกาย
1. การดู (Inspection) เป็นการสังเกตโดยใช้สายตาสังเกตภาวะสุขภาพสำรวจอวัยวะต่างๆของร่างกายว่าผิดปกติหรือไม่ โดยเริ่มตรวจตั้งแต่ผู้ป่วยเดินเข้ามาว่าเป็นอย่างไรและอากัปกิริยาของผู้ป่วยตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า อาการแสดงต่างๆทั้งที่ปกติและผิดปกติ เช่น การอักเสบเป็นฝี บริเวณที่เป็นจะมีลักษณะ บวม แดง ร้อน หรือมีหนอง
-
วิธีการดู
2) ในการดู ผู้ตรวจต้องทราบด้วยว่าอวัยวะที่ดีปกติเป็นอย่างไร จึงจะสามารถแยกสิ่งที่ผิดปกติออกจากสิ่งที่ปกติได้โดยการเปรียบเทียบ
3) ดูลักษณะที่สัมพันธ์กับโรค เช่น เหลือง ให้นึกถึง ดีซ่าน ซึ่งต้องตรวจดูบริเวณตาขาว เยื่อบุตาล่าง เยื่อบุช่องปาก เล็บ ฝ่ามือ
-
2. การคลำ (Palpation)
-
วิธีการคลำ
1) การคลำมือเดียว (UNIMANUAL PALPATION) การใช้นิ้วมือ ฝ่ามือ ข้างใดขางหนึ่งที่ถนัดคลำตรงตำแหน่งที่ต้องการ เช่น เต้านม ใบหน้า หน้าท้อง
2) การคลำสองมือ (BIMANUAL PALPATION) การใช้
มือทั้งสองข้าง ช่วยการคลำพร้อมกัน เช่น การตรวจหน้าท้อง
หญิงตั้งครรภ์ คลำตับ คลำม้าม
3. การเคาะ (Percussion) เป็นการใช้ปลายนิ้ว ฝ่ามือ สันมือหรือกำปั้นทุบ เพื่อตรวจดูว่ามีความเจ็บปวดหรือไม่ และฟังเสียงของการเคาะ เพื่อจะหาตำแหน่ง ขนาด และความหนาแน่นของโครงสร้างของอวัยวะนั้นๆ
หลักการเคาะ
2)การเคาะเพื่อฟังเสียงทึบ ต้องเคาะแรง เรียก Sonorous Percussion แต่ถ้าเคาะหาขอบเขตของอวัยวะ ควรค่อยๆเคาะลงแล้วเคาะไล่ไปตามบริเวณต่างๆ เรียก Definitive Percussion
-
-
-
วิธีการเคาะ
- การเคาะโดยตรงใช้ปลายนิ้วมือทั้งสองถึงสามนิ้วคือนิ้วชี้นิ้วกลางและ
นิ้วนางงอเล็กน้อยหรือใช้ฝ่ามือสันมือหรือกำปั้นข้างที่ถนัดเคาะหรือตบ
ลงไปตรงบริเวณที่ต้องการตรวจโดยตรง
- การเคาะผ่านที่รองรับคือการครอบพานลงบนที่รองรับโดยใช้ฝ่ามือข้างไม่ถนัดวางลงบนอวัยวะที่จะเคาะข้อนิ้วกลางถ้าบนตำแหน่งที่ต้องการ กระดกข้อมือขึ้น2 จังหวะ1 2 1 2 และควรขอแค่ 2-3 ครั้ง
4. การฟัง (Auscultation) เป็นการตรวจโดยอาศัยการได้ยิน ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะมีเครื่องช่วยฟัง เพื่อให้ชัดเจนขึ้นเรียกว่า หูฟัง (Stethoscope)
หลักการฟัง
-
4) การใช้หูฟังส่วนนอก ด้านแบน หรือด้านตลับ (Diaphragm)จะช่วยเสียงที่มีความถี่ต่ำให้ค่อยลง ทำให้ได้ยินเสียงที่มีความถี่สูงเพิ่มขึ้น
-
5) การใช้หูฟังส่วนนอกด้านกรวย หรือด้านระฆัง (Bell) จะใช้ฟังเสียง
ที่มีความถี่สูงและต่ำ ปกติจะใช้ฟังเสียงเสียงที่มีความถี่ต่ำ
-
-
วิธีการฟัง
1) การฟังโดยตรง (Direct Auscultation) หมายถึง การฟังด้วยหูฟังโดยตรง ไม่ผ่านตัวกลางหรือเครื่องมือ เช่น ฟังเสียงพูด เสียงหายใจ
2) การฟังโดยใช้เครื่องมือ (Indirect Auscultation) หมายถึง การฟังโดยตัวกลาง นั่นคือ มีเครื่องมือที่ช่วยในการรับฟังเพื่อให้ได้ยินชัดเจนขึ้น
-
-
:star:ตา หู จมูก ปาก
การตรวจจมูกและโพรงอากาศ
1. การดู :check:ภาวะปกติ ปีกจมูกและจมูกมีขนาดเหมาะสมเท่ากัน ไม่หุบบานมากขณะหายใจ ไม่มีการอักเสบ :green_cross: ภาวะผิดปกติ ปีกจมูกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน มีบวมแดง หุบบานไม่
เท่ากันขณะหายใจ
2. การคลำ :check:ภาวะปกติ จมูก ปีกจมูก บริเวณข้างเคียงและโพรงอากาศ กดไม่เจ็บ :green_cross:ภาวะผิดปกติ กดเจ็บ
การตรวจหู
1. การดู :check:ภาวะปกติ ใบหูทั้ง 2 ข้างอยู่ระดับกับตา ในรูหูพบขี้หู ไม่มีสิ่งผิดปกติ :green_cross:ภาวะผิดปกติ ใบหูสูงหรือต่ำกว่าระดับมุมตา พบในผู้ป่วยสมอง มีสิ่งผิดปกติหรือขี้หู เยื่อแก้วหูมีสีชมพูอมแดง
2. การคลำ :check:ภาวะปกติ ในตำแหน่งปกติจะไม่เจ็บ ทั้งนอกและในรูหู แต่อาจเจ็บเมื่อดึง :green_cross: ภาวะผิดปกติ มีอาการกดเจ็บ บวมแดง มีก้อน มีตุ่มหรือรอยโรค
การตรวจตา
4. ตรวจตำแหน่งตา ลูกตา และบริเวณรอบตา :check:ภาวะปกติ ตาทั้ง 2 ข้างจะมีขนาดและอยู่ในระดับเดียวกัน เปลือกตาสามารถปิดได้สนิท :green_cross: ภาวะผิดปกติ เปลือกตาบวม มีรอยโรค
5. ตรวจรูม่านตา :check: ภาวะปกติ รูม่านตาจะดำ ขนาด 2-6 ม.ม. ลักษณะกลม ขอบเรียบ หดตัวเมื่อถูกแสง :green_cross:ภาวะผิดปกติ รูม่านตามีเงาทึบอยู่ภายใน หรือเมื่อส่องไฟจะมีเงาทึบขวางแสงไฟ
3. ตรวจเคลื่อนไหวของลูกตา :star:ตรวจ 6 cardinal fields of gaze :check:ภาวะปกติ การเคลื่อนไหวของลูกตาว่าราบเรียบดี :green_cross:ภาวะผิดปกติ ลูกตาเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน :star: accommodation :check:ภาวะปกติ ลูกตาจะเคลื่อนเข้าหากันถึงระยะ 5-8 ซ.ม. รูม่านตาจะหดเล็กลง :green_cross:ภาวะผิดปกติ การเคลื่อนของลูกตาเข้าหากันไม่ดี
6. ตรวจความใสของของกระจกตา :check:ภาวะปกติ กระจกตาจะใส โค้ง อาจพบวงขาวขุ่นรอบๆ ชิดขอบกระจกตา :green_cross:ภาวะผิดปกติ กระจกตาขุ่น มีแผลเป็น มีติ่งหรือก้อนเนื้อจากตา
2. ตรวจลานตา :check: ภาวะปกติ เห็นนิ้วระยะใกล้เคียงกับผู้ตรวจ :green_cross: ภาวะผิดปกติ เห็นแตกต่างจากผู้ตรวจมาก
7. ตรวจตาขาวและเยื่อบุลูกตา :check: ภาวะปกติ ตาขาวมีสีขาว เยื่อบุตาสีชมพู มีเส้นเลือดฝอยเล็กน้อย ไม่บวม :green_cross: ภาวะผิดปกติ ตาขาวมีสีเหลืองหรือแดง เยื่อบุตาซีด
1. ตรวจความสามารถในการมองเห็น :check: ภาวะปกติ ตาทั้งสองข้างเห็นได้ชัดเจน :green_cross:ภาวะผิดปกติ มองไม่เห็น หรือ ไม่ชัดเจน
การตรวจปากและช่องปาก
:check:ภาวะปกติ ริมฝีปากสีชมพู ชุ่มชื้น ไม่มีแผล ตุ่ม บวม เยื่อบุช่องปาก เพดานปากสีชมพู ไม่ซีด ไม่มีตุ่มเม็ดผื่น :green_cross:ภาวะผิดปกติ ริมฝีปากคล้ำ เขียวหรือซีดมาก บวมแดง มีแผลหรือตุ่ม
:star:เต้านมและรักแร้
การตรวจเต้านม
1. การดู :check: ภาวะปกติ เต้านมทั้ง 2 ข้างไม่ควรแตกต่างกันมากไม่มีก้อน ไม่พบหลอดเลือดที่ผิดปกติ :green_cross: ภาวะผิดปกติ เต้านมขนาดใหญ่มากกว่าปกติหรือไม่เท่ากัน มีการอักเสบ
2. การคลำ :check:ภาวะปกติ เต้านมจะยืดหยุ่น กดไม่เจ็บหรืออาจเจ็บได้เล็กน้อย :green_cross: ภาวะผิดปกติ บวมแดง กดเจ็บเต้านมหรือหัวนม คลำพบก้อน
การตรวจรักแร้
การดู การคลำ :check:ภาวะปกติ ไม่พบก้อน คลำไม่พบต่อมน้ำเหลือง :green_cross: ภาวะผิดปกติ พบก้อน หรือต่อมน้ำเหลืองใหญ่กว่าปกติ
-
-
-
-
-