Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การประเมินสุขภาพและการบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูง…
หน่วยที่ 6 การประเมินสุขภาพและการบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
การประเมินผู้สูงอายุ หมายถึง การค้นหาปัญหาและการหาแหล่งประโยชน์เพื่อทราบความต้องการที่เเท้จริงของผู้สูงอายุและเพื่อการบำบัดรักษาและจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับความบกพร่องและเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงรวมถึงลดการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เกณฑ์การประเมิน (FANCAPES model)
Fluids สารน้ำ
Aeration อากาศ
Nutrition อาหาร
Communication การสื่อสาร
Activity กิจกรรม
Pain ความเจ็บปวด
Elimination การขับถ่าย
Socialization and Social Skill การมีปฏิสัมพันธ์
มิติในการประเมิน
Physical assesment การประเมินทางด้านร่างกาย
การซักประวัติโดยมีการสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ
การตรวจร่างกายทุกระบบ
การประเมินภาวะโภชนาการโดยใช้แบบประเมิน MNA
เกณฑ์การประเมิน : มีภาวะโภชณาการปกติ 12-14 คะแนน
มีความเสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร 8 - 11 คะแนน
ขาดสารอาหาร 0-7 คะแนน
การหกล้ม
ประเมินท่าเดิน
Timed up and go : เป็นการทดสอบท่าเดินและการทรงตัวโดยให้ผู้ป่วยนั่งเก้าอี้ที่มีที่วางแขนและให้ลุกขึ้นเดินไปข้างหน้า 3 เมตรและเดินกลับโดยมีการจับเวลา
โดยผลการประเมิน : ถ้าน้อยกว่า 10 วินาที หมายถึง ปกติ
10 - 19 วินาที หมายถึง เคลื่อนที่ได้ดีพอใช้มีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง
20-29 วินาที หมายถึง มีภาวะพึ่งพาในการเคลื่อนไหวปานกลางและมีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสูง
มากกว่า 29 วินาที หมายถึงมีความเสี่ยงต่อการหกล้มต้องพึ่งพาสูง
ฺBerg Balance Test : ดูความสามารถในการทรงตัวโดยการให้ทำตามที่บอกทีละ Step
เกณฑ์การประเมิน : 45-56 คะแนน หมายถึง ปกติ
น้อยกว่า 45 หมายถึง มีความผิดปกติในการทรงตัวและมีความเสี่ยงต่อการหกล้มสูง
การมองเห็นและการได้ยิน
Snellen chart : การประเมินความบกพร่องการมองเห็น
Whisper-voice test การประเมินความบกพร่องด้านการได้ยิน : โดยให้ผู้ป่วยนั่งเก้าอี้และพยาบาลมีหน้าที่ยืนกระซิบอยู่ด้านหลัง
การประเมินความบกพร่องการนอนหลับ : สอบถามเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในการนอน ได้แก่ การนอนไม่หลับหรือการนอนมากเกินไป นอนกรน หรือนอนละเมอ และสอบถามเกี่ยวกับอาการง่วงอ่อนเพลยในตอนกลางวัน
Barden scale : การประเมินความเสี่ยงต่อแผลกดทับ
เกณฑ์การประเมิน
ภาวะเสี่ยงรุนแรง มากว่า 9 คะแนน
ภาวะเสี่ยงสูง 10-12 คะแนน
ภาวะเสี่ยงปานกลาง 13-14 คะแนน
ภาวะเสี่ยงน้อย 15-18
Mental and Cognitive assesment การประเมินทางด้านจิตใจ : เป็นการประเมินการรับรู้เวลา สถานที่และบุุคคล การคำนวณ มีสมาธิและการตัดสินใจ
3 words recall : จำวัตถุ 3 สิ่งที่ไม่สัมพันธ์กันแล้วถามซ้ำใน 3-5 นาที
Digit Span Test : ให้นับเลขไปข้างหน้าและถอยหลังซึ่งผู้มีภาวะสับสนเฉียบพลันจะทำไม่ได้
แบบทดสอบสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai 2002)
Social function assesment การประเมินลักษณะกายภาพของครอบครัวและสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วย
ลักษณะครอบครัว
สัมพันธภาพในครอบครัว
พฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพ
ภาวะเศรษฐกิจของผู้สูงอายุและครอบครัว
เครือข่ายการสนับสนุนทางสังคม
แหล่งประโยชน์และระบบบริการที่ผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าถึง
การประเมินสิ่งเเวดล้อม
ความเพียงพอของแสงสว่างในที่อยู่อาศัย
ความเหมาะสมของบันไดและทางเดิน
การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ที่ส่งผลต่อความปลอดภัย
การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ที่ส่งผลต่อความปลอดภัย
ลักษณะพื้นบ้านและห้องน้ำรวมถึงอุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ราวจับ
ความปลอดภัยของบ้านและสิ่งแวดล้อมและความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อมเพื่อการส่งเสริมการดำรงชีวิตได้อย่างอิสระ
Functional assesment การประเมินการทำหน้าที่ของร่างกาย
1.การประเมินความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (ฺBADL)
2.การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่อเนื่อง (IADL) : การประเมินว่าผู้ป่วยสามารถทำอะไรได้บ้างโดยใช้เครื่องมือเข้ามาช่วย เช่น รถเข็น ไม้เท้า เป็นต้น
เกณฑ์การประเมิน
12 คะแนนขึ้นไป หมายถึง พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชนและสังคมได้
5-11 คะแนน หมายถึง ดูแลตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง
0-4 คะแนน หมายถึง พึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ
การประเมินภาวะซึมเศร้า
การคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2 คำถาม (2Q)
การคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม (9Q)
Thai Geriatric Depression Scale : TGDS
แบบทดสอบสภาพจิตจุฬา (Chula Mental Test : CMT)
การบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
แบบบันทึกวิถีโคจรความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ (AIT)
วิถีโคจรความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
วิถีโคจรความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุขณะอยู่ในโรงพยาบาล
แบบบันทึกการประเมินสุขภาพทางการพยาบาลผู้สูงอายุ (GNA)
Giants Geriatric Problem