Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ - Coggle Diagram
รูปแบบการจัดการเรียนรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Inquiry Cycle (5Es)
5Es
2.Exploration การสำรวจและค้นหา
วางแผนกำหนดแนวทางในการสำรวจตรวจสอบ
3.Explanation การอธิบายและลงข้อสรุป
นำข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนำเสนอ
1.Engagement สร้างความสนใจ
นำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจ
4.Elaboration การขยายความรู้
นำความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงความรู้เดิม
5.Evaluation การประเมินผล
ประเมินผู้เรียนว่ามีความรู้มากน้อยเพียงใด แล้วนำไปประยุกต์ใช้
ปัญหาเกี่ยวกับครู
ใช้สถานการณ์ไม่เหมาะสม
ขาดการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ
พื้นฐานความรู้ไม่เพียงพอ
ความหมาย
เน้นกระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้เช่นเดียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ปัญหาเกี่ยวกับนักเรียน
ขาดความมั่นใจในการตอบคำถาม
ไม่แสดงออกถึงความสามารถของตนเอง
ความรู้เดิมไม่เพียงพอ
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบโฟร์แมทซิสเต็ม
ลักษณะเด่นของรูปแบบ
เกิดความรู้ความเข้าใจ และนำความรู้ไปใช้ได้
สร้างผลงานของตนเองได้
ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ได้พัฒนาทักษะกระบวนการต่างๆ
ลักษณะการพัฒนารูปแบบ
แบบที่ 2 ผู้เรียนที่ถนัดการวิเคราะห์ คำถามนำทาง “อะไร”
แบบที่ 3 ผู้เรียนที่ถนัดการใช้สามัญสำนึก คำถามนำทาง “อย่างไร”
แบบที่ 1 ผู้เรียนที่ถนัดการเรียนรู้โดยใช้จินตนาการ คำถามนำทาง “ทำไม”
แบบที่ 4 ผู้เรียนที่ถนัดการรับรู้จากประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมและนำสู่ คำถามนำทาง “ถ้า”
การเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์ 2 มิติ
การรับรู้ (perception)
กระบวนการจัดการข้อมูล (processing)
การจัดกระบวนการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนของวัฏจักรการเรียนรู้ (4 MAT)
ส่วนที่ 3 การปฏิบัติการเรียนรู้ตามลักษณะเฉพาะตัว
ขั้นที่ 5 ทำตามแนวคิดที่กำหนด
ขั้นที่ 6 สร้างชิ้นงานตามความถนัดหรือความสนใจ
สนใจ ส่วนที่ 4 การบูรณาการการประยุกต์ใช้กับประสบการณ์ของตน
ขั้นที่ 7 วิเคราะห์ผลและประยุกต์ใช้
ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดกับผู้อื่น
ส่วนที่ 2 การสร้างความคิดรวบยอด
ขั้นที่ 3 ขั้นปรับประสบการณ์เป็นความคิดรวบยอด
ขั้นที่ 4 พัฒนาความคิดด้วยข้อมูล
ส่วนที่ 1 การบูรณาการประสบการณ์ให้เป็นส่วนของตนเอง
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างประสบการณ์
ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ประสบการณ์
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการ
หลักการ
ให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะนั้นบ่อยๆ ฝึกใช้ทักษะอย่างเพียงพอ
ฝึกให้แก้ปัญหาและใช้ทักษะจนชำนาญ
รับความรู้เสริมเพิ่มประสิทธิภาพการกระทำ
ฝึกทักษะในสถานการณ์หลากหลาย
ให้แรงเสริมตามความเหมาะสม
ป้อนข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุง
ผู้เรียนได้ทดลองทำตาม
เห็นการกระทำของแบบอย่าง และเป็นลำดับขั้นตอน
ให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจขั้นตอนของทักษะนั้นโดยการสังเกต
ทักษะกระบวนการ 9 ประการ
ขั้นกำหนดขั้นตอน
กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติ
ขั้นปฏิบัติอย่างชื่นชม
เสริมแรงให้ผู้เรียน
ขั้นเลือกทางเลือก
เลือกแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย
ขั้นประเมินระหว่างปฏิบัติ
ตรวจสอบการปฏิบัติ
ขั้นสร้างทางเลือก
เลือกแก้ปัญหา
ขั้นปรับปรุง
แก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
ขั้นคิดวิเคราะห์
แยกแยะสาเหตุของปัญหา
ขั้นประเมินผลรวม
สรุปการทำงาน
ขั้นตระหนัก
กระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญของปัญหาต่างๆ
ความหมาย
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีลำดับขั้นตอนตั้งต้นจนจบ แล้วบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
กระบวนการปฏิบัติ
ทำตามแบบ
ทำเองโดยไม่มีแบบ
สังเกต รับรู้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ Cooperative Learning
ลักษณะของการเรียนรู้แบบร่วมมือ
สมาชิกในกลุ่มไม่ควรเกิน 6 คน
สมาชิกมีความสามารถแตกต่างกันเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
มีการทำงานกลุ่มร่วมกัน
วัตถุประสงค์
ได้ประโยชน์ของกันและกันมากที่สุด
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ซึ่งกันและกันผ่านกระบวนการกลุ่ม
เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตัวเองสูงสุด
หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ประการ
3.Individual Accountability การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบและวัดประเมินได้
4.Interdependence and Small Group Skills การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills)
2.Face To Face Pronotive Interaction มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน
5.Group processing การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
1.Positive Interdependence การเรียนรู้ต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน
ความหมาย
เป็นวิธีการเรียนรู้ด้วยกันสองคน หรือเป็นกลุ่มเล็กๆในการทำงานร่วมกัน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
วัตถุประสงค์ 4 ประการ
2.สามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมได้ด้วยตนเอง
3.สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นกระบวนการ
1.สามารถพัฒนากระบวนการคิดของตนเอง
4.เห็นคุณค่าในตนเอง
ประเภทของโครงงาน 4 ประเภท
2.โครงงานศึกษา ค้นคว้า ทดลอง
3.โครงงานสิ่งประดิษฐ์
1.โครงงานสำรวจ
4.โครงงานทฤษฎี
ลักษณะสำคัญของโครงงาน 7 ประเด็น
4.เรียนรู้อย่างลึกซึ้ง มีระบบเป็นขั้นตอนและต่อเนื่อง
5.แสวงหาและสรุปความรู้ด้วยตนเอง
3.ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง
6.นำเสนอผลงานที่เหมาะสม
2.เกิดจากการสนใจใฝ่หาคำตอบของผู้เรียนเอง
7.นำสิ่งที่ค้นพบไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
1.บูรณาการกับหลักสูตรได้อย่างกลมกลืน
ขั้นตอนการทำโครงงาน
3) การลงมือทำโครงการ
4.การบันทึกผลการปฏิบัติงาน
2.การวางแผนในการทำโครงงาน
5.การเขียนรายงาน
1.การคิดและเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา
6.การนำเสนอโครงงาน
ความหมาย
เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เลือกและสร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายและสามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตได้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
ลักษณะกิจกรรม
ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์
วัตถุประสงค์
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เรียน
อาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม
ความหมาย
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ขั้นตอนการสอน 7 ขั้น
ศึกษาทำความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่
แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
แสวงหาความรู้ใหม่
สรุปและจัดระเบียบความรู้
แสดงผลงาน
ประยุกต์ใช้ความรู้
ทบทวนความรู้เดิม