Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนอนหลับในผู้สูงอายุ, REM, การนอนหลับระยะที่ 3, 4 NREM…
การนอนหลับในผู้สูงอายุ
ความหมาย
การพักผ่อนที่ดีที่สุด เป็นกิจกรรมจำเป็นในการดำรงชีวิต เช่นเดียวกับ การหายใจ การรับประทานอาหาร การขับ ถ่าย
-
สัมพันธ์กับการมืดและความสว่าง โดยผู้หลับจะมีความไวต่อการกระตุ้นภายนอกลดลง แต่สามารถปลุกหรือเรียกให้ตื่นได้ (พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร, 2558)
ตามกระบวนการสรีระ ที่สอดคล้องกับจังหวะการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกายที่ควบคุมโดยเซลล์ประสาทในสมอง (Milliman, 2012; Van de Wouw, 2013)
-
-
การนอนหลับของผู้สูงอายุ
เมื่อเปรียบเทียบกับวัยอื่น ๆ พบว่า ผู้สูงอายุ มีระยะการนอนหลับ Stage 1 NREM เพิ่มขึ้น Stage 3,4 NREM and REM ลดลง
-
-
-
จึงพยายามเข้านอนคืนถัดไปเร็วขึ้น ทำให้พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่นอนหัวค่ำ ใช้เวลานอนอยู่บนที่นอนยาวกว่าจะหลับได้
และเมื่อหลับแล้วอาจจะตื่นบ่อย ๆ กลางดึก เพราะถูกรบกวนจากสิ่งแวดล้อม ผู้สูงอายุจึงมักงีบหลับในช่วงกลางวันเพิ่มขึ้น
-
-
-
REM
-
-
-
-
โดยระบบประสาทซิมพาเธติก จะทำให้มีการหลั่งอะดรีนาลินเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทำให้ร่างกายต้องการออกซิเจนเพิ่มขึ้น
อัตราการหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ ระดับความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงสมองสูงขึ้น
-
-
-
-
-
การนอนหลับระยะที่ 3, 4 NREM ของผู้สูงอายุจะลดร้อยละ 15-20
-
-
-
-
-
เมื่อวงจรแรกผ่านไป จะเข้าสู่วงจรการนอนหลับที่สอง โดยเริ่มจากระยะที่ 2 , 3, 4 NREM และ REM วนเวียนตลอดคืน ประมาณ คืนละ 5-6 วงจร (Van de Wouw, 2013)