Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การประเมินภาวะสุขภาพ(Health Assessment) - Coggle Diagram
บทที่2 การประเมินภาวะสุขภาพ(Health Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
(1)ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ส่วนใหญ่จะเป็น ความรู้สึกนึกคิด อัตมโนทัศน์ ค่านิยมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อต่างๆ
การที่จะได้ข้อมูลอัตนัยถูกต้องครอบคลุมต้องอาศัย
•ทักษะในการสังเกต
•การสัมภาษณ์
•การซักประวัติ
•การฟังให้เข้าใจในสิ่งที่ผู้รับบริการบอก
** ข้อมูลอัตนัย เป็นสิ่งที่ผู้ป่วยบอก เล่า
(2)ข้อมูลปรนัย (Objective data)
เป็นข้อมูลที่ได้จาก
จากการสังเกต
การตรวจร่างกาย
การตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น การวัดอุณหภูมิร่างกายการจับชีพจร การวัดความดันโลหิต การตรวจการทางานของลาไส้โดยใช้หูฟัง (stethoscope)
สิ่งที่ตรวจพบเรียกว่าอาการแสดง “Signs”
ข้อมูลจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
การการตรวจพิเศษต่าง ๆ
แหล่งของข้อมูล (Source of data)
(1)ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
การสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพจากผู้รับบริการโดยตรงอาจจะเป็นคาบอกเล่าเกี่ยวกับอาการต่างๆความรู้สึกความเชื่อทัศนคติความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วยหรือคาบอกเล่าเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลจากการตรวจร่างกาย
การวัดประเมินด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆของผู้รับบริการ
** ข้อมูลปฐมภูมิจึงถือว่าเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
(2)ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
เป็นข้อมูลที่พยาบาลเก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด
ผู้พบเห็นเหตุการณ์ทีมสุขภาพข้อมูล
จากรายงานหรือเวชระเบียนของผู้ป่วยข้อมูล
จากการบันทึกของแพทย์
การบันทึกทางการพยาบาล
การบันทึกของบุคลากรในทีมสุขภาพอื่น ๆ เช่น นักกายภาพบาบัดโภชนากรเภสัชกร เป็นต้น
ข้อมูลจากรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ
การซักประวัติ (History taking)
สภาพของผู้รับบริการ
ผู้รับบริการที่อยู่ในภาวะเจ็บป่วยหรือมีความไม่สุขสบาย
บุคลิกลักษณะของพยาบาล
พยาบาลที่มีบุคลิกภาพเงียบพูดน้อยหรือพูดมากเกินไป ล้วนมีผลต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล
การใช้ความเงียบที่ไม่เหมาะสมจะทาให้ไม่ได้ข้อมูลจากผู้รับบริการโดยเฉพาะถ้าผู้รับบริการเป็นคนพูดน้อย
สาหรับพยาบาลที่พูดมากเกินไปจะทาให้ไม่ได้ฟังข้อมูลหรือความคิดเห็นความรู้สึกของผู้รับบริการเพราะแย่งผู้รับบริการพูดเสียเป็นส่วนใหญ่
สภาพแวดล้อมในการสัมภาษณ์
ถ้าสับสน วุ่นวาย มีเสียงดัง คนเดินพลุกพล่าน จะทาให้ทั้งพยาบาลและผู้รับบริการไม่มีสมาธิในการพูดคุยหรือสื่อสารกัน
ถ้าเป็นข้อมูลที่ผู้รับบริการไม่อยากให้บุคคลภาบนอกได้ยิน สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ผู้รับบริการอาจไม่สะดวกในการให้ข้อมูล
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่ 1การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจาวันและการออกกาลังกาย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ