Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
3.1 การตรวจร่างกาย
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การดู (Inspection)
การดูใช้สายตาสังเกตภาวะสุขภาพของร่างกายว่าผิดปกติหรือไม่ตั้งแต่ผู้ป่วยเดินเข้ามามีใครช่วยพยุงมาหรือไม่
วิธีการดู 1 ดูให้ทั่วจากด้านหน้าด้านข้างด้านหลังใช้เครื่องมือสองดูและหู 2 ในการดูดูว่าผู้ป่วยมีอาการบวมที่เขาข้างซ้ายหรือไม่โดยเทียบกับเขาข้างขวา
3 ดูลักษณะที่สัมพันธ์กับโลกเช่นเหลืองดูบริเวณตาขาวเยื่อบุตาล่างเยื่อบุช่องปากอักเสบฝ่ามือ
การคลำ (Palpation)
หลักการคลำ 1 คำบนร่างกายที่ปราศจากเสื้อผ้าทำในที่มิดชิดไม่ควรเปิดเผยผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
2 ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนในท่าที่สะดวกต่อการทำ
3 ผู้ตรวจจะใช้ฝ่ามือหรือนิ้วมือข้างที่ถนัดโดยคลำโดยไม่ใช้ปลายนิ้วเล็บผู้ตรวจจะต้องสั้น
4 ขณะทำให้ผู้ตรวจสังเกตสีหน้าของผู้ป่วยตลอดเวลาด้วย
5 การทำจากลำเบารอบอวัยวะที่ตรวจ
6 การคลำลึกเป็นการทำสองมือ
7 คำบริเวณเจ็บหลังสุด
การคลำมือเดียว (UNIMANUAL PALPATION)
การคลำ 2 มือ (BIMANUAL PALPATION)
การเคาะ (Percussion)
เป็นการใช้ปลายนิ้วฝ่ามือสันมือ 1 กำปั้นทุบเพื่อตรวจดูว่ามีความเจ็บปวดหรือไม่และฟังเสียงของการเคาะ
หลักการเคาะ 1 การเคาะควรใช้การเคลื่อนไหวของข้อมือข้างที่ถนัด
2 การเคาะเพื่อฟังเสียงทึบต้องเคาะแรง
3 การเคาะอวัยวะที่มีสองด้าน
4 ขนาดที่ทำการข้อควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเสียง
วิธีการเคาะ 1 การเคาะโดยใช้ปลายนิ้วมือทั้ง 2-3 นิ้วคือนิ้วชี้นิ้วกลางและนิ้วนางเล็กน้อยหรือใช้ฝ่ามือสันมือหรือกำปั้นข้างที่ถนัดเคาะหรือทุกลงบริเวณที่ต้องการตรวจ
2 การเคาะผ่านที่รองรับคือกันครอบพานลงบนที่รองรับโดยใช้ฝ่ามือข้างที่ไม่ถนัดวางบนอวัยวะที่จะเคาะ
การฟัง (Auscultation)
การฟังเป็นการตรวจโดยอาศัยการได้ยินซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะมีเครื่องช่วยฟังเพื่อให้ชัดเจนขึ้นเรียกว่า (Stethoscope)
หลักการฟัง 1 ห้องตรวจต้องเงียบไม่มีเสียงรบกวนภายนอก
2 การฟังจากบนลงล่างหรือซ้ายไปขวาเพื่อเปรียบเทียบเสียงเช่นการฟังเสียงหัวใจ
3 ระวังการกระทบกระเทือนของท่อสายยางและนิ้วของผู้ตรวจไปเสียดสีกับท่อสายยาง
4 การใช้หูฟังส่วนนอกด้านแบนหรือด้านตลับจะช่วยเสียงที่มีความถี่ต่ำให้ค่อยลง
วิธีการฟัง 1 การฟังโดยตรง (Direct Auscultation)หมายถึงการฟังด้วยหูฟังโดยตรงไม่ผ่านตัวกลางหรือเครื่องมือ
2 การฟังโดยใช้เครื่องมือ (Indirect Auscultation) หมายถึงการฟังโดยตัวกลางนั่นคือมีเครื่องมือที่ช่วยในการฟัง
เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
1 เครื่องชั่งน้ำหนัก 2 ที่วัดส่วนสูง 3 ปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย 4 เครื่องวัดความดันโลหิต 5 หูฟัง 6 นาฬิกา 7 เทปวัดขนาดหรือความยาว 8 ไฟฉาย
8 ไม้กดลิ้น 9 เข็มปลายทู่หรือปลายแหลม 10 สำลี 11 แผ่นทดสอบสายตา 12 ผ้าคลุมผู้ป่วย 13 ถุงมือสะอาดและสิ่งหล่อลื่น 14 เครื่องส่องดูรูปตา
15 ซ่อมเสียง 16 เครื่องส่องดูภายในรูหู 17 ไม้เคาะเข่า 18 ชามรูปไตหรือถุงพลาสติก 19 เครื่องทางรูจมูก
ลักษณะทั่วไป ผิวหนัง ผม ขน เล็บ
การตรวจผิวหนังใช้เทคนิคการดูและการคลำ
ผิวสีซีดผิวเหลืองผิวสีเขียวคล้ำ ผิวสีแดงผิวสีอื่นๆเช่นผู้สูงอายุ
ลักษณะผิวคลำผิวหนังผิวหนังปกติจะเรียบเรียงไม่หยาบหรือขรุขระเคลื่อนที่ได้และเป็นไปตามอายุเช่นผิวหนังผู้สูงอายุจะใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การตรวจผมและขนใช้เทคนิคการดูและดมกลิ่น
ภาวะปกติผมควรนุ่มไม่หยาบและหักง่ายหนังศีรษะสะอาดผู้สูงอายุผมน้อยลงเมลานินลดลงผมสีจาง
ภาวะผิดปกติผมเปลี่ยนสีใปผมร่วงมากผมอย่าปล่อยแตกง่ายผมสกปรกมีรังแคเหามีกลิ่น
การตรวจเล็บ
ภาวะปกติโคนเล็บจะนุ่มหยุ่นเล็กน้อยมุมระหว่างฐานเล็บกับผิวหนังโคนเล็บประมาณ 160 องศาเล็บเป็นสีชมพูผิวเล็บเรียบแนบสนิทกับเนื้อเยื่อด้านล่าง
ภาวะผิดปกติเล็บไม่เรียบนูนบางไม่เท่ากันหรือมีลักษณะเล็บรูปช้อนนิ้วปุ้ม
ศีรษะ ใบหน้า คอ และต่อมน้ำเหลือง
การตรวจศีรษะใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การดูผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการ
ภาวะปกติศีรษะจะมีขนาดเล็กกว่ารอบอกศีรษะต้องสมดุลไม่มีเบี้ยวผิดรูปหรือสีผมตามเชื้อชาติและวัย
การคลำใช้ไปปลายนิ้ววนเป็นวงกลมและเบาๆไปทั่วศีรษะ
ภาวะปกติคลำไม่พบความผิดปกติหรือไม่พบต่อมน้ำเหลืองภาวะผิดปกติคำพบก้อนผิดปกติ
การตรวจใบหน้าใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การดูผู้ตรวจยืนเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการ ภาวะปกติใบหน้าทั้งสองซีกไม่บิดเบี้ยวไม่มีการเคลื่อนไหวผิดปกติในหน้าไม่บวมไม่มีรอยโรคภาวะผิดปกติใบหน้าบิดเบี้ยวไม่สมมาตรมีการกระตุก
ลักษณะใบหน้าที่ผิดปกติที่พบบ่อย Nephrotic syndrome Cushing syndrome
การตรวจคอใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การดู ภาวะปกติสามารถเคลื่อนไหวได้ตามที่ให้ทำและเห็นพื้นที่หรือขอบเขตของคอภาวะผิดปกติเพียงคอแข็งไม่สามารถก้มเพียงพอหมุนคอแหงนหน้ายืดคอได้
คลำภาวะปกติสามารถต้านแรงผู้ตรวจได้ภาวะผิดปกติไม่สามารถต้านแรงได้หรือเคลื่อนไหวได้อ่อนแรงหรือเจ็บ
การตรวจหลอดลมคอ
ภาวะปกติหลอดลมอยู่ตรงกลางหรือนิ้วทั้งสองแยกได้สะดวกเท่ากันภาวะผิดปกติหลอดลมฉี่ไปทางใดนิ้วที่แยงของฝั่งตรงข้ามจะแย่งได้สะดวกกว่าและอาจคลำพบวงกระดูกอ่อนของหลอดลม
การตรวจต่อมไทรอยด์
การคลำจากด้านหน้าหรือด้านหลัง ภาวะปกติส่วนของ isthmusไทรอยด์จะเคลื่อนที่ข้างบนขณะกลืนคำหารูปร่างและขอบเขตได้ไม่ชัดเจน
ภาวะผิดปกติมองเห็นต่อมไทรอยด์โตมีก้อน nodule นูนชัดเจนคำต่อมไทรอยด์ได้โตมากและคำได้ง่ายชัดเจน
การตรวจต่อมน้ำเหลืองใช้เทคนิคการดูและการคลำ
การดูภาวะปกติไม่พบก้อนภาวะผิดปกติพบก้อนนูมโต
การคลำภาวะปกติไม่พบก้อนถ้าตรวจพบขนาดเล็กเคลื่อนที่ได้กดไม่เจ็บภาวะผิดปกติต่อมน้ำเหลืองโตมากแดงและเจ็บพบในการอักเสบของต่อมน้ำเหลือง
ตา หู จมูก ปาก
การตรวจตาปกติตาทั้งสองข้างเห็นได้ชัดเจน
ภาวะปกติมองไม่เห็นหรือไม่ชัดเจนซึ่งตรวจละเอียดต่อไป
การตรวจลานตาภาวะปกติเห็นนิ้วระยะใกล้เคียงกับผู้ตรวจ
ภาวะผิดปกติเห็นนิ้วแตกต่างจากผู้ตรวจมากตรวจหาความผิดปกติต่อไป
การเคลื่อนไหวของลูกตาภาวะปกติเคลื่อนไหวของลูกตาว่าราบเรียบดีภาวะผิดปกติลูกตาเคลื่อนไหวไม่สัมพันธ์กัน
การตรวจหู
การดู ภาวะปกติใบหูทั้งสองข้างอยู่ในระดับกับสายตาและเอียง 10 องศาในแนวตั้งไม่มีสิ่งผิดปกติหรือเห็นเยื่อแก้วหูเป็นแผ่นสีเทามีแสงสะท้อนภาวะผิดปกติใบหูสูงหรือต่ำกว่าระดับมุมตราพบในผู้ป่วยสมองใบหูเล็กเกินอาจจะมีผลต่อการได้ยิน
การคลำภาวะปกติในตำแหน่งปกติจะไม่เจ็บทั้งนอกและในใบหูแต่อาจเจ็บเมื่อภาวะผิดปกติมีอาการกดเจ็บบวมแดงมีก้อนมีตุ่มหรือรอยโรค
การตรวจจมูกและโพรงอากาศ
การดู ภาวะปกติปีกจมูกและจมูกมีขนาดเหมาะสมเท่ากันภาวะผิดปกติจมูกทั้งสองข้างไม่เท่ากันมีบวมแดง 6 บานไม่เท่ากันขณะหายใจ
การคลำภาวะปกติจมูกปีกจมูกบริเวณข้างเคียงกับโพรงอากาศกดไม่เจ็บภาวะผิดปกติกดเจ็บ
การตรวจปากและช่องปาก
การดู ภาวะปกติริมฝีปากสีชมพูชุ่มชื้นไม่มีแผลตุ่มบวมเยื่อบุช่องปากหรือเพดานสีชมพูไม่ซีด
ภาวะผิดปกติริมฝีปากคล้ำเขียวหรือซีดมากบวมแดงมีแผลหรือตุ่มเยื่อบุในช่องปากซีดมีตุ่ม
การตรวจเต้านม และรักแร้
การตรวจเต้านม
การดูภาวะปกติเต้านมทั้งสองข้างไม่ควรแตกต่างกันมากสีผิวอ่อนกว่าผิวกายไม่มีก้อนไม่พบหลอดเลือดที่ผิดปกติภาวะผิดปกติผิวหนังเป็นสีแดงมีการอักเสบบวมหัวนมถูกดึงรั้งไปด้านใดด้านหนึ่งมีตุ่มมีแผล
การคลำ ภาวะปกติเต้านมจะยืดหยุ่น กดไม่เจ็บหรืออาจเจ็บได้เล็กน้อยไม่พบก้อนหัวนมกดไม่เจ็บไม่มีแผลไม่มีสิ่งคัดหลั่งภาวะผิดปกติบวมแดงกดเจ็บเต้านมหรือหัวนมคลำพบก้อนมีแผลผิวเต้านมไม่นุ่มหัวนมมีสิ่งคัดหลั่ง
การตรวจรักแร้
ภาวะปกติไม่พบก้อนคลำไม่พบต่อมน้ำเหลืองภาวะผิดปกติพบก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองใหญ่กว่าปกติ