Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8(1) ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 8(1)
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
หัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจมีควลามไม่สสมดุลของการใช้ออกซิเจนกับความต้องการออกซิเจน ทำให้หัวใจขาดเลือดและหรือตายจากเลือดในหลอดเลือดหัวใจไปเลี้ยงลดลงอย่างเฉียบพลัน
ST segment elevation myocardial infraction (STEMI)
Non-STEMI (NSTEMI)
Unstable angina
สาเหตุและกลไกการเกิด
รอยละ 70 เกิดจาการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
กลไกการเกิด
มีการแตกของ plaque
เกิดการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
ขัดขวางการไหลของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
กล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้รับออกซิเจน
กล้ามเนื้อหัวใจเผาผลาญแบบไม่ใช้ออกซิเจน
กรดแลกติกคั่ง ระคายเคือง ระบบประสาท
1 more item...
อุดกันนานเกิน 20 นาที กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดและตาย
เริ่มจาก endocardium ไปยังกล้ามเนื้อด้านนอก
เกิดอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงมากขึ้น
ปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะคราบไขมันในหลอดเลือดหัวใจ
การไหลเวียนของเลือดในหัวใจ
กระบวนการแข็งตัวของเลือดภายใน
กลุ่มอาการ metabolic และการอักเสบ
ความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมนและระบบประสาท
สิ่งแวดล้อมและยา
อาการ
อาการเจ็บหน้าอก
คลื่นไส้อาเจียน
ไข้
เหงื่อออกมากตัวเย็น
อาการทางจิต
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการเจ็บหน้าอก
ถ้ามีอการกล้ามเนื้อหัววใจตายแสดงว่าอาจมี ACS ให้รีบทำ EKG 12 leads ในเวลา 10 นาที
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจ cardiac biomarker
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การสวนและฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ
การรักษา
เป้าหมาย คือการจำกัดบริเวณการขาดเลือดของหัวใจ ไม่ให้เกิดในวงกว้าง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การรักษาเบื้องต้น
เปิดหลอดเลือดด้วยยาละลายลิ่มเลือดหรือการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ยาต้านการแข็งตัวของเกล็ดเลือดตามแผนการรักษา และติดตามผลข้างเคียง
ก่อนทำการตรวจสวนหัวใจหรือขยายหลอดเลือด
อธิบายวิธีการ
ซักประวัติการแพ้ยาและอาหารทะเล
งดน้ำและอาการยกเว้นยา ก่อนอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ติดตามและประเมินการทำหน้าที่ของไต GFR & creatinine
ประเมินความเบาแรงของชีพจรบริเวณขาทั้งสองข้าง
ทำความสะอากขาหนีบ ข้อพับแขน ข้อมือ
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลังทำการตรวจสวนหัวใจหรือขยายหลอดเลือด
จัดให้นอนราบ ให้แขนหรือขาข้างที่ทำเหยียดตรง เป็นเวลาอย่างน้อย 3-6 ชั่วโมง
ติดตามประเมินสัญญาณชีพ ความอุ่นของผิวหนัง
ตรวจสอบแผลบริเวณที่ทำ
บันทึกภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดดำ
ประเมินอาการเจ็บหน้าอก ใจสั่น และติดตาม EKG ในรายที่เต้นผิดจังหวะ
สังเกตอาการแพ้สารทึบรังสี
ประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ ถ้าไม่ถ่านเกิน 6 ชั่วโมง พิจารณาสวน
ติดตามประเมินค่า BUN creatinine และ GFR โดยเฉพาะรายที่มีปัญหา
หัวใจล้มเหลว
ชนิด
แบ่งตามเวลาการเกิด
Acute heart failure
Chronic heart failure
แบ่งตามประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
Heart failure with ejection fraction (HFrEF) หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัว ต่ำกว่า 40%
Heart failure with mid range ejection fraction (HFmrEF) มี LVEF 40-49% หัวใจขณะคลายตัวทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
Heart failure with preserved ejection fraction (HFpEF) มี LVEF ตั้งแต่ 50% ขึ้นไป
จำแนกตาามระดับความรุนแรง
Stage A HF
เสี่ยงต่อการมีโครงสร้างและการทำหน้าที่ของหัวใจผิดปกติ
Stage B HF
มีความผิดปกติแต่ไม่มีอาการและอาการแสดง
Stage C HF
มีหรือเคยมีอาการแสดงมาก่อน
Stage D HF
อยู่ในระยะสุดท้ายของโรค การดำเนินของโรคไม่ดี ตอบสนองการรักษาต่ำ ส่งผลกระทบทั้งร่างกายและจิตใจ
จำแนกตามหน้าที่ทางกาย(NYHA)
Class I
ไม่มีข้จำกัดในการทำกิจกรรม ไม่มีอาการแสดง
Class II
มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมเล็กน้อย สบายเมื่อพัก แสดงเมื่อทำตามปกติ
Class III
มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมมาก สบายเมื่อพัก แสดงเมื่อทำเล็กน้อย
Class IV
ไม่สามารถทำกิจกรรมได้เลย ขณะพักมรอาการเหนื่อย หายใจลำบากชัดเจน
ปัจจัยเสี่ยง
โรคความดันโลหิตสูง
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
โรคเบาหวาน โรคอ้วน และกลุ่มอาการ metabolic
พยาธิสภาพ
ในภาะวะปกติสามารเพิ่ม CO ได้ 5 เท่าของระยะพัก
เมื่อการทำหน้าที่ของ หัวใจลดลงจน CO ไม่เพียงพอ
Sympathetic nervous system จะทำงานมากขึ้น
Renin-angiotensin-aldosterone system ถูกกระตุ้น
ADH เพิ่มการดูดกลับของน้ำ
การเพิ่มขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจ
หัวใจทำงานหนักเมื่อ preload เพิ่มขึ้นหรือลดลง, afterload เพิ่มขึ้น, contractility ลดลง
ปรับตัวชดเชยกล้ามเนื้อหัวใจจะมีขนาดใหญ่ขึ้น
หัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจหนาขึ้น
อาการแสดง
ซีกซ้ายวาย
อาการแสดง
การบีบตัวล่างซ้ายลดลง เลือดคั่งในหัวใจบนซ้ายและปอด
เหนื่อขณะนอนหลับ
หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำจากการมี CO ลดลง
หัวใจเต้นแรงสลับเบา
ผิวหนังส่วนปลายเย็น ชื้น จากหลอดเลือดส่วนปลายหดตัว
ปัสสาวัละออกน้อย จากเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
ซีกขวาวาย
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
บวมกดบุ๋ม บริเวณข้อเท้า ตับโต มีน้ำในช่องท้อง และอาจพบอาการคลื่นไส้ เบื่ออาหาร
การประเมิน
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบหายใจ
ระบบประสาท
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจรังสีปอด
การตรวจเลือด
การตรวจคลื่นสะท้อนความถี่สูง
EKG
การประเมินระดับความดันในหัวใจ
การรักษา
การรักษาด้วยยาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การใส่เครื่องมือพิเศษ
การผ่าตัด
ความดันโลหิตสูง
การประเมินความเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ตรวจพบว่ามีร้่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย
การปรากฏว่าเป็น CVD อยู่แล้ว
โรคที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด CVD
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Fasting plasma glucose
Serum total cholesterol, HDL, LDL, triglyceride
Serum electrolyte, serum creatinine, GFR
Hb, Hct
UA
ECG
Echocardiography
Carotid ultrasonography
Ankle brachial blood pressure index (ABI) และ pulse wave velocity (PWV)
วัดปริมาณ albuminuria หรือ protienuria ต่อวัน
ตรวจจอประสาทตา
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต
การพยาบาลเพื่อป้องกัน
ติดตามวัดความดันโลหิต
หมั่นสังเกตอาการผิดปกติ
สร้างสุขนิสัยที่ดีและมีพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกัน
การออกกำลังกายแบบแอโรบิคอย่างสม่ำเสมอ
ควบคุมอาหาร
ผ่อนคลายความเครียดและพักผ่อนอย่างเพียงพอ
หยุดสูบบุหรี่และงดีแอลกอฮอล์
ขณะรับประทานยาความดัน แนะนำให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่าช้าๆ
รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
สาเหตุ
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลัก
มลพิษในอากาศ
โรคหอบหืด
ความยากจน
พยาธิสภาพ
การจำกัดการไหลของอากาศและการขังของอากาศในถุงลม
มีความผิดปกติกของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น
ความดันในปอดสูง
อาการแสดง
เหนื่อย กลหายใจลำบาก ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กช่วยในการหายใจ
ไอเรื้อรัง พบในระยะแรกของโรค อาจมีหรือไม่มีเสมหะร่วมด้วย
แน่นหน้าอกหายใจมรเสียงหวีด
เหนื่อยล้า น้ำหนักลด เบื่ออาหาร พบบ่อยในผู้ป่วยระยะรุนแรง
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
Chest X-ray
ความดันก๊าซในเลือดแดง
สมรรถภาพปอด โดยใช้ spirometry
การรักษา
การหยุดสูบบุหรี่
การใช้ยา
ยาขยายหลอดลม
การรกษาด้วยออกซิเจน
การรักษาอื่นๆ
การใช้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
การให้ Alpha1 anti trypsin
การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
ปัญหาในการสื่อสาร
การส่งเสริมและรบข้อมูลจากโลกภายนอกทั้งโดยวัจนะและอวัจนะภาษาและส่งสารติดต่อแปลผลภายในร่างกายของมนุษย์ก่อนการตอบสนอง เป็นกระบวนการทำงานที่ต้องการทำหน้าที่ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจ
การสื่อสารที่ดี
ทักษะในการพยาบาลผู้สูงอายุ
ช่วยให้ได้มาซึ่งสุขภาพที่เป็นจริง
ช่วยพัฒนาสัมพันฟธภาพเชิงบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้สูงอายุ
บกพร่องก่อให้เกิดความไม่เข้าใจ
ปัจจัยด้านสูงอายุ
หู
ได้ยินลดลง
เยื่อบุแก้วหูแข็งและเหี่ยวลีบ หรืออาจมีการอุดตันของขี้หู
ตา
ตาฝ้ามัว มดงไม่ชัด เนื่องจากแก้วตาหนาตัว ความโค้งน้อย การหักเหของแสงไม่ดี หนาและแข็ง รูม่านตาเล็กลง ตอบสนองต่อแสงช้า เกิดโรคต้อกระจก ต้อหิน ต้อเนื้อได้ง่าย
อวัยวะการพูด
มะเร็งกล่องเสียง หรือช่องปาก มีความจำเสื่อม มักมีปัญหาในการสื่อสาร
ความผิดปกติของการสื่อสารด้วยคำพูด
Aphasia
ความผิดปกติของการพูดและการเข้าใจภาษา
พูดไม่ได้หรือพูดได้หรือไม่เข้าใจภาษา
พบในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง อุบัติเหตุทางสมอง เนื้องอกที่สมอง
การทำงานของสมองแต่ละซีก
ซีกซ้าย
ควบคุมเกี่ยวกับภาษาและทักษะต่างๆของผู้ถนัดขวา
คนถนัดซ้ายมักจะมีสมองซีกซ้ายหรือทั้งสองข้างเด่น
ถ้ามีพยาธิสภาพจะทำให้เกิดความผิดปกติของการใช้ภาษา
ซีกขวา
ควบคุมและเชื่อมโยงการเคลื่อนไหวกับการรับรู้ต่างๆ แสดงพฤติกรรมทางอารมณ์
ถ้าได้รับการบาดเจ็บจะจำทิศทางไม่ได้ ไม่สนใจร่างกายด้านตรงข้าม
ส่วนที่สำคัญกับการพูดและความเข้าใจภาษา
Wernicke’s area
อยู่เหนือกกหูด้านซ้าย
เมื่อถูกทำลายจะทำให้เกดิภาวะเสียการสื่อความหมาย
พูดได้แต่เป็นคำที่ไม่มีความหมาย
บกพร่องความเข้าใจภาษาและการพูด ผู้ป่วยได้ยินสิ่งที่พูดแต่ไม่เข้าใจความหมาย
Broca’s area
อยู่บริเวณ brodmann’s area 44 และ 45
ถ้าถูกทำลายจะทำให้สูญเสียการสื่อสารที่ออกมาเป็นคำพูด พูดได้ลำบาก พูดทวนคำไม่ได้ บอกชื่อสิ่งของไม่ได้ แต่ยังสามารถเข้าใจสิ่งที่คนอื่นสื่อสารได้
ประเภทความผิดปกติ
มีปัญหาเรื่องการรับรู้เข้าใจในภาษา (Wernicke’s aphasia)
พูดได้คล่อง ตามหลักไวยากรณ์
ไม่เข้าใจคำพูดนั้นๆ ประโยคซับซ้อนยิ่งเข้าใจยาก
ไม่สามารถพูดตามได้
ไม่สามารถเขียนตามคำบอกได้
บางรายเป็นน้อยอ่านได้แต่อาจมีตกหล่นบ้าง
มีปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษา แต่มีความเข้าใจในภาษาที่ปกติ (Broca’s aphasia)
เข้าใจคำพูดผู้อื่น แต่พูดไม่ชัด บอความต้องการของตัวเองไม่ได้
เกิดจาความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการพูด ทำให้พูดไม่คล่อง
อยู่สมองซีกซ้าย
มีปัญหาเรื่องการนึกคำพูด(Nominal aphasia)
นึกคำพูดลำบาก
พูดอ้อมหรืออธิบายโดยใช้คำศัพท์อื่นแทนสิ่งที่พูด
พูดคล่อง ชัดเจน ถูกหลักไวยากรณ์
พบในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติที่จุดเชื่อมระหว่างสมองส่วน temporal และ parietal area
มีปัญหาทั้งเรื่อการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจในภาษา (Global aphasia)
มีปัญหาทั้งการพูดและใการเข้าใจภาษาในระดับใกล้เคียงกัน
พบในผู้ป่วยทีมีพยาธิสภาพทั้งบริเวณ Wernicke’s area และ Broca’s area
การพยาบาล
อธิบายสถานการณ์ การบำบัดรักษาและกินกรรมทุกอย่าง
ไม่ดูแลแบบเด็ก
อดทนให้เวลาในการสื่อสาร
พูดช้า ชัด ถามทีละคำถาม
สร้างสิ่งแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมในการตัดสินใจ
ใช้ท่าทางแทนการพูด
พูดในสิ่งที่คุ้นเคย
ใช้วัตถุรับรู้ที่ช่วยในการมองเห็น
กระตุ้นให้พูดจนจบ
Dysarthria
ความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อในการพูด
เกิดจากการอ่อนแรงของใบหน้าและปาก ลิ้น ขากรรไกร
เข้าใจการสนทนา การอ่าน การเขียนได้
แก้ปัญหาด้านการพูดด้วยการออกกำลังกายและการฝึกพูด
การพยาบาล
บอกกับผู่ช้ที่ผู้สูงอายุสื่อสารด้วยว่าลำบากในการสื่อสาร
กำหนดระยะเวลาและหยุดเมื่อรู้สึกเหนื่อย
พูดช้าๆ ดังๆ ในสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ
หายใจลึกก่อนพูด พูดทีละก้าวเปิดปากให้กว้างเวลาพูด เพื่อให้ลิ้นได้เคลื่อนไหว
จัดท่านั่งหรือยืนในท่าตรง ช่วยให้ออกเสียงดีขึ้น
บริหารใบหน้า
ให้เวลาในการสื่อสาร
ถามในส่วนที่ไม่เข้าใจ
สอบถามวิธีที่ช่วยในการสื่อสาร
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการมองเห็น
ประเมินว่าพูดทางด้านใดจึงเหมาะสม
ส่งเสียงพูดเมื่อพบกัน แนะนำตัวเองและผู้ที่อยู่ด้วยและเมื่อจากไปต้องบอก
ต้องแน่ใจว่าอยู่ในสภาพพร้อมคุย
อธิบายสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อให้ผูสูงอายุคุ้นเคย
พูดคุยด้วยเสียงปกติ
บอกตำแหน่งสิ่งต่างๆ
ลดสิ่งรบกวนควาามสนใจ
ตรวจสอบแสงสว่างที่เหมาะสมในการมองเห็น
ไม่โยกย้ายของในห้องหรือจัดใหม่โดยไม่บอก
เมื่จะส่งของให้ควรบอกก่อน
เวลาเดินให้จับแขนและหยุดเพื่อบอกก่อนขึ้นบันได
จัดอุปกรณ์ในการช่วยเหลือไว้ใกล้ๆ
ตรวจเยี่ยมเพื่อสอบถามความต้อวการเป็นระยะ