Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย
การดูแลแบบประคับประคอง
เป้าหมายของการดูแลแบบประคับประครอง
ปฏิบัติสอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ครอบครัวยอมรับและเข้าใจ พร้อมประบตัวกับความเจ็บป่วย
บรรเทาความทุกข์ทรมารจากอาการปวดและอาการรบกวน
ส่งเสริมให้บุคคลที่ได้รับการดูแลตลอดกระบวนการของการตายที่เรียกว่า ''ตายดี''
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและมีอาการมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น COPD Stroke HF
กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิด
การประเมินผู้ป่วยแบบประคับประคอง
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน PPS (Palliative Performance Scale) โดย 40 % เริ่มให้การดูแลแบบประคับประคอง
การประเมิน 2Q
การบอกข่าวร้ายกับผู้ป่วย
แนวทางปฎิบัติของ Robert Buckman
ประเมินใจอยากรู้แน่
เผยข้อมูลให้ตรงจริง
สำรวจว่ารู้แค่ไหน
ไม่ถอดทิ้งนิ่งดูดาย
เตรียมตัวเจรจา
นัดหมายไว้ภายหน้า
5ขั้นของ Kubler Ross
Bargain ต่อรอง
Depression ซึมเศร้า
Anger โกรธ
Acceptance ยอมรับความจริง
Denial ปฏิเสธ
การประเมินด้านร่างกาย
อาการปวด โดยใช้ Worst Pain Imaginable ประเมินอาการปวดแต่ละตำแหน่ง
POS คือการประเมินอาการปวดช่วง 3 วันที่ผ่านมามี 10 ข้อ
ผู้ป่วยวาระสุดท้าย
Spirituality in palliative care
Spirituality และ ศาสนา
Spirituality เป็นความหมายกว้างๆของจิตวิญญาณ ครอบคลุมทั้งมุมมองทางศาสนาและ ไม่เกี่ยวกับศาสนา
ศาสนาเป็นวิธีช่วยมนุษย์ตอบคำถามเกี่ยวกับจิตวิญญาณ มีการกำหนดความเชื่อ คำสอนเฉพาะ
Spirituality แสดงออก 3 มิติ
ประสบการณ์และอารมณ์ ความหวัง ความรู้สึกนึกคิด
พฤติกรรมที่แสดงออก สอดคล้องกับความเชื่อและสภาะภายในของตน
การรับรู้ ความหมายของชีวิต ความเชื่อ
Spiritual sufferinf / crisis
สภาวะวิกฤติทางจิตวิญญาณ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถหาหลักที่พึงพึงได้
Spirituality assessment
informl assessment ประเมินได้ทุกเวลาเมื่อมีโอกาส แสดงออกโดยการเล่าเรื่อง
formal assessment ประเมินโดยใช้ข้อคำถาม
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบันขณะ
มองให้เห็นและตอบสนอง
ฟังอย่างตั้งใจ
สนับสนุนความหวัง ที่ไม่เกินจริง
ไม่จำเป็นต้องพูดคุยเรื่องพระเจ้าหรือศาสนา
ปัจจัยความสำเร็จของการดูแลด้านจิตวิญญาณ
ความเข้าใจจิตวิญญาณของตนเองของผู้ประเมิน เป็นกลางไม่ตัดสิน
สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การรักษากับผู้ป่วย สร้างความไว้วางใจ
เวลาและวิธีการเหมาะสม วางตัวอย่างเป็นธรรมชาติ
สรีรวิทยาในระยะเผชิญความตาย
อ่อนเพลีย
ความเบื่ออาหาร
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
การหายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง
ดื่มน้ำน้อยลง
การตายดีที่พึงประสงค์
มีความเป็นส่วนตัว เลือกได้ว่าจะตายที่ไหน
ได้รับการดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ
พร้อมไปเมื่อเวลามาถึง ไม่ยื้อชีวิต
ไม่เจ็บปวดไม่ทุกข์ทรมาน
มีคนรักอยู่ใกล้ มีเวลากล่าวอำลา
รู้ตัวและมีสติรับรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้น
Living will
พินัยกรรมชีวิต บุคคลมีสิทธิทำหนังสือไม่ประสงค์รับบริการเพื่อยืดการตาย