Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาระบบประสาทในผู้สูงอายุ, นางสาวพรลภัส ไทยธัญญพานิช 6110601039 sec…
ปัญหาระบบประสาทในผู้สูงอายุ
ภาวะสมองเสื่อม
Dementia
สาเหตุ
Primary dementia
พบบ่อยที่สุด
ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
โรคอัลไซเมอร์
สมองจะเสื่อมลงเรื่อยฟ
เนื้อสมองจะตายพร้อมๆกัน ความสามารถจะลดลงทุกๆด้าน
Secondary dementia
เกิดจากโรคต่างๆที่ทราบสาเหตุ มีผลกระทบต่อสมอง
โรคเกี่ยวกับหลอดสมอง โรคติดเชื้อต่างๆ โรคทางเมตาบอลิซึม โรคจากสารพิษและยา
เนื้อสมองจะตายเฉพาะส่วน ผิดปกติเฉพาะด้าน ความจำยังดีอยู่
ปัจจัยเสี่ยง
โรคหลอดเลือดสมอง เคยเป็นอัมพฤกษ์อัมพาต
โรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ติดเชื้อ ไขมันในเลือดสูง ซึมเศร้า
ผู้หญิง ระดับฮอร์โมนต่ำมานาน
สูบบุหรี่ ดื่มสุราหรือสิ่งเสพติด
น้ำหนักตัวเกิน
สารพิษในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
กรรมพันธุ์
จำนวนเซลล์สมองที่ลดลง
พยาธิสภาพ
พบสารผิดปกติ คือ อมัยลอยด์ในสมองและมีระดับของ dopamine ลดลงอย่างมาก
อาการและอาการแสดง
บกพร่องด้านความจำสิ่งใหม่
ลืมชื่อคนในครอบครัว
จำเหตุการณ์ปัจจุบันไม่ได้
บกพร่องด้านการรับรู้หรือเรียนรู้สิ่งใหม่
สมาธิลดลง การเรียนรู้ลดลง
ไม่สามารถตัดสินใจคิดได้เลย
บกพร่องการประกอบกิจกรรมที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน
คิดเงินทอนเงินไม่ได้
ปรุงอาหารไม่ได้
พูดโทรศัพท์ไม่ได้
ก่อนหน้านี้เคยทำกิจกรรมนี้ได้
บกพร่องการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
ไม่กล้าตัดสินใน กลัวตัดสินใจพลาด
ตัดสินใจแย่ลง เช่น ขับรถไปซื้อของหน้าบ้านทั้งๆที่เดินไปก็ได้
หลงทาง
เดินออกจากบ้านแล้วหาทางกลับไม่ได้
บกพร่องทางการใช้ภาษา
พูดผิดไวยากรณ์
พูดไม่เป็นประโยค
นึกชื่อสิ่งของที่เรียกไม่ได้เลยเรียกผิด
บกพร่องในการประกอบกิจกรรมที่เคยทำได้มาก่อน
ไขกุญแจไม่ได้
เดินช้าลง เดินไม่มั่นคงเหมือนเด็กหัดเดิน
เขียนไม่ได้
มีการประกอบกิจวัตรประจำวันด้วนตนเองบกพร่อง
ไม่อาบน้ำ ไม่แต่งตัว
กลั้นปัสสาวะ อุจจาระไม่อยู่ หรือขับถ่ายในที่ที่ไม่เหมาะสม
อาการแย่ลงเวลาพลบค่ำ
sundown syndrome
-มองเห็นได้น้อยลง การแปลสิ่งที่เห็นจึงผิดไปจึงก้าวร้าวโวยวาย
พฤติกรรมแปลกๆ
กลายเป็นคนเฉยเมย ซึมเศร้า ไม่กระตือรือร้น
อารมณ์เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ขโมยสิ่งของ สะสมสิ่งของ
หลีกเลี่ยงการออกไปพบปะเพื่อนฝูง
พฤติกรรมทางเพศผิดปกติไม่ยอมใ่เสื้อผ้า เล่นอวัยวะเพศ
ระยะการดำเนินโรค
ระยะแรก
ไม่หลงลืมมาก
ช่วยเหลือตนเองได้ ทำกิจกรรมต่างๆช้าลง
อารมณ์ไม่เบิกบาน โกรธง่ายหงุดหงิด
เฉื่อยชา ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อม
วิตกกังวลสูง
เล่ารื่องเก่าๆซ้ำๆ ถามคำถามเดิมๆ
สบสนเมื่อต้องใช้ข้อมูลหลายด้าน
ระดับปานกลาง
ช่วยเหลือตนเองไดน้อยลง
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่เคยทำไม่ได้ ปัสสาวะผิดที่
ไม่รับรู้วัน เวลา สถานที่ บุคคล
จำชื่อคนไม่ได้
เดินไปเดินมาไม่หยุด
หลงลืมมากขึ้น
อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว แสดงพฤติกรรมทางเศที่ไม่เหมาะสม
มีอาการ sundown symdrome
ระยะสุดท้าย
จำเหตุการณ์ไม่ได้ทั้งอดีตและปัจจุบัน
จำคนสนิทไม่ได้ อาจไม่รู้จักตนเอง
พูดไม่เป็นภาษาขาดเป็นช่วงๆ สื่อสารไม่ได้
เบื่ออาหาร ลืมว่ารับประทานอาหารแล้ว
เงียบแยกตัว
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้
ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนเตียง
ส่วนมากเสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อน
การวินิจฉัย
ซักประวัติตรวจร่างกาย
ความเปลี่ยนแปลด้านความจำ
กรรมพันธุ์
พฤติกรรมการทำงาน เป็นต้น
ตรวคัดกรองเบื้องต้นว่ามีอาการซึมเศร้าหรือไม่
การตรวจร่างกาย
การประเมินภาวะสมองเสื่อม
BADL
IADL
เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม
นิยมใช้ DSM IV
1.มีความผิดปกติของความจำ
2.มีความปกติอย่างน้อย 1 ข้อต่อไปนี้
Aphasia ผิดปกติในการใช้ภาษา
Apraxia สูญเสียทักษะการทำกิจกรรมที่ไม่ได้เกิดจาก Motor system
Agnosia ไม่รู้จักในสิ่งที่เคยรู้จักมาก่อน
ความผิดปกติในการบริหารจัดการ
ความผิดปกติในข้อ 1, 2 มีมากจนส่งผลกระทบต่ออาชีพ ความสามารถทางสังคม
ไม่ได้เกิดขึ้นช่วงที่มีภาวะซึมสับสน delirium
ไม่สามอธิบายได้ด้วยสาเหตุอื่น เช่น เมา สับสน
การตรวจเพื่อวินิจฉัยเบื้องต้น
MMSE ถ้าคะแนนต่ำกว่า 24 จาก 30 คือสุขภาพจิตผิดปกติ
หลักการรักษา
รักษาต้นเหตุ ยิ่งรักษาเร็วยิ่งดีในระยะที่ผู้ป่วยสามารถกลับมาได้
รักษาตามอาการแบบประคับประคอง
รักษาโดยใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือดสมอง
ยาช่วยการทำงานของสมอง
รักษาโดยไม่ใช้ยา
ดนตรีบำบัด
ฝึกการรู้จำ
การป้องกัน
รับประทานอาหารครบหมู่
หลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัว คอเลสเตอรอลสูง
รับประทานปลาทะเล วิตามินซี อีและกรดโฟลิกสูงๆ
ควบคุมน้ำหนัก
ดัชนีมวลกายไม่เกิน 25
หลีกเลี่ยงยาหรือสารที่ทำให้เกิดอันตรายแก่สมอง
งดดื่มเหล้าจัด สูบบุหรี่ การทานยาโดยไม่จพำเป็น
ฝึกฝนสมอง
ออกสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง
พูดคุย พบปะกับผู้อื่นบ่อยๆ
ตรวจสุขภาพประจำปี
ระวังอุบัติเหตุต่อสมอง
ปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีสมาธิ ฝึกสมาธิตลอด
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ เช่น HIV
การพยาบาล
ประเมินปัญหาและความต้องการ
ให้ความรู้ คำแนะนำแก่ผู้ดูแล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันได้มากที่สุด
การสื่อสารและการใช้ภาษา
พูดช้าๆ อธิบายสั้นๆ เป็นขั้นตอน
พูดเรื่องเดียว
การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนจากปกติ
การถามซ้ำ การที่ได้รับคำตอบผู้ป่วยจะรู้สึกมั่นใจและสบายใจขึ้น
การเลือกเสื้อผ้า การแต่งตัว เปิดโอกาสให้เลือกเสื้อผ้าเอง เสื้อแบบสวม กางเกงยางยืด
อาการหวาดระแวงโทษผู้อื่น ไม่ควรเถียงหรืออธิบาย ควรพูดอย่างนุ่มนวล
พฤติกรรมต่อต้านก้าวร้าว อารมณ์รุนแรง จัดของในบ้านให้เหมือนเกิม
เดินหลงทาง จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ติดสัญญาณเตือน
ขโมยของ จัดบ้านให้เป็นระเบียบหาของง่าย
พฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสม ควรเบี่ยงเบนความสนใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
รักษาหน้าที่ของสมองให้คงอยู่มากที่สุด
ส่งเสริมสภาวะด้านจิตสังคมและลดอาการซึมเศร้า
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
Delirium
อาการ
มีอาการเฉียบพลันการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวอย่างรวดเร็ว มีช่วงดีสลับกับแย่
ระยะนำอาจอ่อนเพลีย ไม่มีสมาธิ หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล
สูญเสียความจดจ่อ
สูญเสียความจำระยะสั้น หลงวั เวลา สถานที่และบุคคล
เฉยเมยและแยกตัว
กระวนกระวาย ดึงสายต่างๆออก พยายามปีนเตียง
มักตื่นตอนกลางคืน
อารมณ์แปรปรวน
อาจเห็นภาพหลอน
อาการทางระบบประสาท ท่าเดินไม่มั่นคง สั่น กระตุก
อาการเตือน
มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะจิตใจอย่างรวดเร็ว
มีอาการผิดปกติดทางจิตประสาท
มีโรคทางกายทำให้ซึมสับสนเฉียบพลัน
เห็นภาพหลอน
พูดจาสับสน หลงวัน เวลา และสถานที่
คลื่นมองมี Diffuse slow wave
ได้รับยาบางชนิด
ชนิด
Hyperactive
มีอาการวุ่นวายหลงวัน เวลา สถานที่และบุคคล
Hypoactive
เงียบ ซึมสับสน เฉยเมย นอมาก
Mixed
อาการสลับไปมาระหว่าง Hypoactive, Hyperactive
การใช้เกณฑ์
Confusion Assessment method
ต้องมีทั้ง 4 ข้อดังนี้
เริ่มมีอาการแบบเฉียบพลัน และมีการดำเนินโรรคสลับดีและไม่ดี
ไม่มีสมาธิ Inattention
มีความคิดไม่เป็นระบบ
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับการรู้สึกตัว
ปัจจัยกระตุ้น
ยา
ยากล่อมประสาทหรือยานอนหลับ
ยารักษาโรคพาร์กินสัน
โรคที่เกิดร่วม
ติดเชื้อ
พร่องออกซิเจน
ไข้สูงมากๆ
โลหิตจาง
ช็อค
ไม่สมดุลน้ำและอิเล็กโทรไลต์
โรคระบบประสาท
การผ่าตัด
ควมเจ็บปวด
ความเครียด
การอดนอนเป็นเวลานาน
สิ่งแวดล้อม
สาเหตุ
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท
การอักเสบและความเครียดเรื้อรังจากการเจ็บป่วย
การป้องกัน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ลดอาการเจ็บป่วย
ดูแลการขับถ่าย
หยุดยาที่ไม่จำเป็น
ดูแลให้ได้รับอาหารที่เหมาะสม
กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวตั้งแต่ระยะแรก
การพยาบาล
ค้นหาสาเหตุเพื่อรักษาที่ถูกต้อง
ดูแลประคับประคองอาการ
ดูแลสภาพแวดล้อม
ปรับให้โล่ง แยกจากผู้ป่วยอื่น
ช่วยให้ผู้ป่วยประกอบกิจวัตรประจำวันได้
การให้ยา เช่น haloperidol
โรคอัลไซเมอร์
Alzheimer’s disease : AD
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในเนื้อสมอง 2 อย่าง
กลุ่มเส้นใยประสาทพันกัน อหารไม่สามรถไปเลี้ยงสมองได้
มีสาร beta amyloid ทำให้ระดับacetylchline ที่มีส่วนสำคัญในการเรียนรู้และความจำในสมองลดลง
การอักเสบ inflammatory สาร amyloid เมื่อสลายจะทำให้สารอนุมูลอิสระออกมาทำให้สมองอักเสบ
กรรมพันธุ์
อายุ
ยิ่งมาก ยิ่งมีโอกาสเป็นมาก
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ทำให้สูญเสียความทรงจำ ควรรักษาความดัน จะทำให้ความจำดีขึ้น
อาการและอาการแสดง
ความผิดปกติของความจำ
การใช้ภาษา
การรับรู้ภาพ
ระยะแรก
มีปัญหาด้านความจำ การเรียนรู้สิ่งใหม่
ลืมเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น
ระยะกลาง
เริ่มมีปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวันพื้นฐาน
ระยะสุดท้าย
สื่อสารได้ลดลง
มีพฤติกรรมซ้ำๆ
ปัญหาเรื่องการทรงตัว
จำญาติใกล้ชิดไม่ได้ จำตัวเองไม่ได้
อาจติดเชื้อทางเดินหาายใจ
การวินิจฉัย
CT - Scan
DSM - IV
การรักษาและการพยาบาล
การกระตุ้นทางจิตใจ
การออกกำลังกาย รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่
ยังไม่มีการรักษาที่ช่วยชะลอหรือหยุดโรค
Parkinson’s disease
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด
พบภาวะ toxicity
CVD’ genetic
การได้รับยาบางชนิด
อาการและอาการแสดง
Dopamine ลดลงทำให้เกิดอาการขึ้น
มีการสั่นของมือและเท้า เป็นอาการแรกๆ
สั่นมากขณะพัก แต่ถ้าตั้งใจหยิบจะสั่นน้อยลง
กล้ามเนื้อแข็งตึง
กล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจทำงานได้ช้า เช่นการพูด การกลืนอาหาร
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
สูญเสียรีเฟล็กซ์ขอการทรงตัว
แสดงสีหน้าความรู้สึกไม่ได้
น้ำลายไหลออกมาก กลืนลำบาก
ท่าเดิน ศีรษะก้มไปข้างหน้า เดินลากเท้า หลังงอ ไหล่ห่อ แขนงอ
หน้ามืด สำลักง่าย
อาจเกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ ซึมเศร้า
สาเหตุการตายส่วนใหญ่ คือ ภาวะทรกซ้อนและอุบัติเหตุ
การตรวจวินิจฉัย
Copper มากเกินไป
ไม่มีการตรวจเฉพาะที่ระบุได้
การรักษาพยาบาล
รักษาด้วยยา
เพื่อควบคุมอาการ
คงไว้ซึ่งกรทำหน้าที่ของร่างกายมากที่สุด
Levodopa (L-Dopa)
เป็นยารับประทานเมื่อเข้าไปที่สมองจะเปลี่ยนเป็น dopamine
Dopamine จะไม่ให้โดยการรับประทานเพราะจะถูกเผาผลาญหมดก่อนถึงสมอง
Anticholinergic drugs
รักษาด้วยการผ่าตัด
เพื่อรักษาอาการแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
ฝึกให้ผู้ป่วยเสื้อเสื้อแบบมีกระดุม ติดกระดุมเอง
อาหาร ซุปข้น อาหารไขมันต่ำ วิตามินเอและอีสูง กากใยสูง
กิจกรรม ควรให้ีการเคลื่อนไหว ROM exercise ป้องกันข้อติด ไม่ทำอย่างรีบร้อน
ภาวะสับสน
Confusion
เกิดขึ้นช้าๆเป็นอยู่นานหรือเกิดกระทันหัน
เป็นแบบชั่วคราวหรือถาวรก็ได้
การพยาบาล
ประเมินโดยการถามชื่ออายุ วันเดือนปี
วางปฏิทินและนาฬิกาไว้ใกล้ๆ
ไม่ปล่อยให้อยู่ำพัง
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ เงียบ
แนะนำลด เลิกดื่มสุรา
รับประทานอาหารที่มีวิตามินและเกลือแร่สูง
นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ควบคุมโรคที่เป็นอยู่ให้ดี
การฆ่าตัวตาย
Suicide
สาเหตุ
ภาวะซึมเศร้า
การเจ็บป่วยทางกาย หือทางจิต
การสูญเสียคู่ชีวิต
การติดสารเสพติด
อาารและอาการแสดง
ไม่สนใจรับประทานอาหาร
ปฏิเสธการรักษา ไม่รับประทานยา
การรักษาและการพยาบาล
ซักประวัติผู้ป่วยในที่ส่วนตัว
รีบรักษาสาเหตุ
ให้พูดระบายความเครียด
ต้องเต็มใจรับฟัง แสดงถึงความเข้าใจ ไม่แสดงท่าที่ตัดสินกับสิ่งที่ผู็ป่วยทำ
ควรมีท่าทีมั่นคง แสดงความเห็นอ่างชัดเจน
ไม่ปล่อยให้อยู่คนเดียว
นางสาวพรลภัส ไทยธัญญพานิช
6110601039
sec b02
บทที่ 8 ส่วนของอาจารย์นปภัช1