Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การประเมินการตรวจร่างกาย (4) การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์ -…
บทที่ 3
การประเมินการตรวจร่างกาย (4)
การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
การตรวจท้อง (Abdomen)
การตรวจชองท้อง การดูโดยทั่วไปมีการแบ่งหน้าท้อง ออกเป็นส่วนต่างๆใช้การแบ่งหน้าท้องออกเป็น 4 ส่วนและ 9 ส่วน
การจะตรวจท้องให้ได้ประโยชน์นั้น
จะต้องทราบถึงอวัยวะที่อยู่ภายใต้ส่วนต่างๆ ดังกล่าวด้วย
เทคนิคในการตรวจท้อง คือ การดู การฟัง การเคาะ และการคล่าตรวจด้วยการฟังก่อน การเคาะและคล่า เพราะการคล่าท้องผู้รับบริการอาจรู้สึกเจ็บ เกิดอาการเกร็งหน้าท้องท่าให้ฟังได้ ยากขึ้น
การจัดท่าการตรวจส่วนท้อง
นิยมให้ผู้รับบริการนอนหงาย ในท่าที่สบายและไม่เกร็ง แขนทั้งสอง วางข้างล่าตัวจัดเสื้อผ้าให้เปิดเฉพาะส่วนที่จะตรวจคือ ตั้งแต่ระดับเหนือ Xiphoid processควรให้ผู้รับบริการถ่าย ปัสสาวะก่อนตรวจท้อง
อุปกรณ์ที่ใช้การตรวจส่วนท้อง
หูฟัง (stethoscope)
ถุงมือสะอาด
สายวัด
ผ้าคลุม
เทคนิคในการตรวจท้อง
การดู
-ดูรูปร่างลักษณะท้องว่าปกติ สมมาตรกัน
หรือไม่หรือท้องโตหรือท้องแฟบดู
-ผิวหนังหน้าท้อง สีผิว รอยแผลผ่าตัด รอยจ้่า
เลือดและหลอดเลือดด่าที่ผนังท้องว่าโป่งพอง
ภาวะปกติท้อง
จะสมมาตรกัน ท้องอาจโตได้กรณี
อ้วนมากหรือตั้งครรภ์ไม่พบหลอดเลือดด่าขยายหรือโป่งพองลักษณะสะดือและบริเวณขาหนีบปกติ
เส้นสีด่ากลางท้อง ที่เกิดขึ้นตอนตั้งครรภ์ หรือ Linea Nigra เป็นเส้นสีด่า
กว้างราวๆ 1 เซนติเมตร พบได้มากกว่า 80% ในผู้หญิงตั้งครรภ์
ภาวะผิดปกติจากการการตรวจท้องท้องโตกว่าปกติ (abdominal distention) ไม่สมมาตรกัน ด้านใดด้านหนึ่งโตกว่า
ปกติ ท้องโตกว่าปกติ อาจเกิดจาก ลม น้่าในช่องท้อง
การฟัง
หูฟัง ใช้ฟังเสียงส่วนต่างๆของร่างกาย มีทั้งชนิด Acoustic stethoscope และ
fetoscope ซึ่ง fetoscope จะใช้ฟังเสียงทารกในครรภ์
การใช้หูฟังในต่่าเหน่งที่ต้องการจะตรวจไม่ควรมีสิ่งที่ปกปิด หรือบังผ่านเสื้อผ้า เพราะอาจท่าให้เสียงที่ได้ยินผิดพลาด
ภาวะปกติ จะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นจะได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวเป็นเสียง
กร๊อก กร๊อก คล้ายเทน้่าออกจากขวด
ภาวะผิดปกติ เสียงการเคลื่อนไหวหรือการบีบตัวของล่าไส้จะดังและบ่อยมากขึ้น ซึ่งพบ
ในรายที่มีการอักเสบอุดตัน เสียงกรุ้งกริ้ง
เสียงท้องที่ผิดปกติ
เสียงท้องที่ดังอยู่ตลอดเวลาหรือเกือบตลอดเวลา
เสียงท้องที่เงียบหายหรือนานๆ จึงจะได้ยินเสียงสักครั้ง
เสียงท้องที่แหลมชัด
3.เคาะ
การเคาะ จะช่วยบ่งบอกลักษณะอวัยวะที่อยู่ในช่องท้อง และเป็นการช่วยตรวจสอบ
ว่าท้องโตที่เห็นได้จากการดูนั้นเกิดจากมีอากาศ สารน้่า
3.1 การเคาะท้อง
ภาวะปกติ จะได้เสียงโปร่ง
ภาวะผิดปกติ
ได้เสียง hypertympany ในกรณีมีอากาศมากถ้าหากมีสารน้่าหรือก้อน เคาะเสียงโปร่งน้อยลง
การตรวจหาสารน้่าในช่องท้อง มี 2 วิธี คือ การตรวจ shifting
dullness และ fluid thrill
การตรวจ shifting dullness หรือ ตรวจการเปลี่ยนที่ของเสียงเคาะทึบ
การตรวจ fluid thrill หรือ การกระเพื่อมของน้่าในช่องท้อง
3.2 การเคาะตับ
การเคาะเพื่อหาขอบเขตบนของตับ ให้เคาะที่ทรวงอกด้านขวาจากบนลงล่าง
ในแนว mid clavicular line วางมือซ้ายให้นิ้วมือขนานกับช่องซี่โครง
ภาวะปกติ เคาะได้เสียงทึบของตับตามแนว mid clavicular line ระหว่างช่อง
ซี่โครงที่ 6 ถึงใต้ชายโครงประมาณ 1 นิ้ว
ภาวะผิดปกติเคาะได้บริเวณตับเล็กกว่าปกติ ซึ่งอาจพบในภาวะถุงลมปอดโป่งพองมากมีก๊าซใต้
กระบังลมมาก
3.3 การเคาะม้าม
การเคาะม้าม ให้ผู้รับบริการนอนตะแคงขวา มือทั้งสองยกขึ้นหนุนไข ทรวงอกด้านซ้ายจากบนลงล่างจากช่องซี่โครงที่ 7 ถึง 11
ภาวะปกติ พบเสียงทึบของม้าม (Splenic dullness) ได้ที่ช่องซี่โครงที่ 9-10
ภาวะผิดปกติ พบเสียงทึบของม้ามมากกว่าปกติ เช่น ทึบในแนว anterior
axillary line ซ้าย
3.4 การเคาะไต (Costrovertebral angle tenderness,CVA)
เป็นการเคาะไตเพื่อตรวจอาการเจ็บที่เกิดจากกรวยไต
อักเสบหรือมีการอักเสบของเนื้อไต เช่น การติดเชื้อ
ภาวะปกติ จะไม่มีอาการเจ็บเมื่อเคาะถูก
ภาวะผิดปกติ คือ มีอาการเจ็บหรือปวด
การคลำ
การคลำท้องมี2 แบบ
การคล่าตื้นการคลำเบา
คลำลึกหรือคลำสองมือ
•การคล่าอวัยวะต่างๆให้ยึดหลักว่าคลำส่วนที่เจ็บเป็นส่วนสุดท้ายหรือหลังสุดของการตรวจ
การคลำตื้น เป็นการคลำผนังหน้าท้องและกล้ามเนื้อหน้าท้องให้เริ่มบริเวณที่ไกลจากส่วนที่ผู้รับบริการให้ประวัติว่าเจ็บมากที่สุด
4.1 การคลำท้อง
เริ่มด้วยการคลำตื้นหรือคลำเบา (light palpable)
การคลำลึกจะเน้นการค้นหาก้อนหรืออวัยวะในช่องท้องที่
ผิดปกติ
ภาวะปกติ ท้องนุ่ม ไม่มีต่าแหน่งกดเจ็บ ไม่มีท้องตึงแข็ง (guarding abdomen) ไม่มี
กดเจ็บ (tenderness abdomen)
ภาวะผิดปกติ ท้องตึงแข็ง (guarding abdomen) กดเจ็บ (tenderness
abdomen) ตึงแข็งและกดเจ็บ
4.2 การคลำตับ
พยาบาลวางมือขวาราบที่หน้าท้องผู้รับบริการ ให้ปลายนิ้วชี้ไปทางศีรษะของ
ผู้รับบริการ นิ้วชี้และนิ้วกลางอยู่ด้านนอกของกล้ามเนื้อ
วิธีที่ 2 Hooking technique พยาบาลยืนด้านขวา หันหน้าเข้าหา
ปลายเท้าผู้รับบริการ วางมือ 2 ข้างชิดกันบนท้องด้านขวาใต้ระดับที่เคาะได้
ภาวะปกติ ปกติจะคล่าขอบตับไม่พบหรือประมาณ 1-2 เซนติเมตร จากใต้ชาย
โครงขวา
ภาวะผิดปกติ ตับมีขนาดโตเกินขอบชายโครงมาก ตับแน่น (firm) แข็ง (hard)
หรือแข็ง มากเหมือนหิน
4.3 การคลำม้าม
คลำม้ามใช้สองมือ มือซ้ายของผู้ตรวจอ้อมข้ามตัวผู้รับบริการ สอดฝามือ ไประหว่างซี่โครงที่ 10 กับ 11
ภาวะปกติ คลำไม่พบขอบม้าม
ภาวะผิดปกติ คลำพบขอบม้าม ซึ่งต้องโตประมาณ 2-3 เท่าของขนาดปกติ จึงจะ
คลำได้
4.4 การคลำไต
ภาวะปกติ คลำได้ขอบล่างของไตขวาระหว่างมือทั้งสองระหว่างหายใจเข้า ขอบเรียบ แข็ง
และไม่เจ็บ ไตซ้ายคล่าไม่ได้
ภาวะผิดปกติ คลำได้ไตหรือก้อนขนาดใหญ่ หรือได้ลักษณะผิดปกติระหว่างมือทั้งสอง
ขอบไม่เรียบ แข็งมากหรือกดเจ็บ
ใช้ปลายนิ้วกดบริเวณ costovertebral angle ทั้ง 2 ข้าง สอบถามว่าเจ็บ
หรือไม่ หรือทุบไตเบาๆ
4.4 การคลำขาหนีบ
บริเวณขาหนีบจะตรวจต่อมน้่าเหลือง ชีพจรและ ผิดปกติ
เทคนิคการตรวจจะต่อเนื่องกับการคลำท้อง
ภาวะปกติ คลำชีพจรขาหนีบได้ คลำไม่พบต่อมน้่าเหลือง หรือก้อนนูนผิดปกติ
ภาวะผิดปกติ คลำชีพจรขาหนีบได้เบาลง ต่อมน้่าเหลืองโต อักเสบ เป็นฝี หรือ นูน
ขึ้นผิดปกติ ซึ่งอาจเป็นไส้เลื่อน
Landmark หรือต่าแหน่งต่าง ๆ บนหน้าท้องที่แบ่งเป็น 3 ส่วน
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์และทวารหนัก
(Genital organ และ Anus)
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์
(Genital organ)
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ ในทางปฏิบัติแล้วพยาบาลจะตรวจเมือมีปัญหา หรือคาดว่าจะมีพยาธิสภาพที่ส่วนนั้นเทคนิคที่ใช้ คือ การดูและการคลำ ควรสวมถุงมือเพื่อป้องกันการปนเปื้อน
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ชาย ให้สังเกตขนบริเวณหัวเหน่า ผิวหนังบริเวณนี้ ตรวจองคชาต
หนังหุ้มปลาย รูเปิดท่อปัสสาวะ ลูกอัณฑะ คลำว่าอัณฑะอยู่ในถุงทั้งสองข้างหรือไม่
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ คือ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลาย
ยอดไปสะดือ ไม่มีแผลและการอักเสบ
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีแผล ก้อน สิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติ และมีการอักเสบ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์หญิง ให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะก่อน จัดท่าให้นอนหงาย งอ
สะโพก และเข่า
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ คือ ในผู้หญิงเป็นรูปสามเหลี่ยม
ปลายยอดชี้ลงล่าง ไม่มีแผล
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีการอักเสบ แผล มีสิ่งคัดหลังผิดปกติ มีก้อน หรือมี
การ โผล่ ของอวัยวะอื่นออกมาทางช่องคลอด มี hernia
การตรวจทวารหนัก
การตรวจใช้เทคนิค การดูและการคล่า อุปกรณ์ วาสลินหรือ K-Y jellyและถุงมือสถานที่ตรวจ มิดชิด ปิดม่าน ควรมีบุคคลที่ 3 อยู่ด้วยเสมอจัดท่า นอนคว่ำเข่างอชิดอก หรือนอนตะแคงซ้าย เข่าและหลังงอ
การคลำ จะตรวจเมื่อผู้รับบริการมีปัญหา และต้องท่าด้วยความระมัดระวัง
วิธีการคลำ มือซ้ายแหวกกันให้เห็นทวารหนัก แนะน่าให้ผู้รับบริการ
หายใจเข้าออกลึก ๆ เพื่อการผ่อนคลาย
การคลำต่อมลูกหมาก
ภาวะปกติ ไม่มีรอยแผล รอยเกา รอยอักเสบ รอยโรค ก้อน ถุงน้่ากล้ามเนื้อมีความตึงตัว
ภาวะผิดปกติ มีแผล รอยเกา รอยอักเสบ มีการฉีกขาดเป็นร่อง