Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติทางอายุรกรรม
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ Rh(RhIncompatibility)
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อแม่มี Rh negative และทารกมี Rh positive โดยในขณะตั้งครรภ์เม็ดเลือดแดงที่มี Rh positive ของทารกจะผ่านรกเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของมารดา ทําให้เกิดการสร้าง antibodies ในแม่ซึ่ง antibodies นี้จะไหลเวียนกลับเข้าสู่ทารกในครรภ์ และ antibodies เหล่านี้จะไปจับและทําลายเม็ดเลือดแดงของทารก
อาการและอาการแสดง
ทารกมี hemolysis รุนแรง
hydrops fetalis
อาจเสียชีวิตในครรภ์
ในรายที่ไม่ตายคลอด
เกิดbilirubin toxicity
ผลกระทบ
ผลต่อสตรีตั้งครรภ์
ไม่ค่อยมีผลกระทบ
ผลต่อทารกในครรภ์
ส่งผลต่อการตั้งครรภ์ที่ 2
hyperbilirubinemia
kernicterus
ตับและม้ามโต
dead fetus in uterus
hydrops fetalis
still birth
neonatal anemia
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
ประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดที่ผ่านมา
การตรวจร่างกาย
ทารกมีภาวะโลหิตจาง
ซีดมาก
ตัวบวมน้ำ
ตับม้ามโต
เหลืองเร็ว
เกิดhydrops fetalis
circulatory collapse
อาจพบภาวะ kernicterus
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับของbilirubin
180 mg%
เกิดภาวะKernicterus
ตรวจCoombs’ test
strongly positive
ตรวจความเข้มข้นของเลือด
hematocrit ต่ํามาก
reticulocyte countสูง
peripheralblood smear
พบลักษณะ
severe hemolysis
anisocytosis
polychromasia
nucleated red bloodcellมากขึ้น
แนวทางการรักษาและการพยาบาล
ป้องกันการเกิด Isoimmunization
เฝ้าระวังและตรวจ antibodies ในสตรีตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพของทารกในครรภ์
การเจาะเลือด
ตรวจหาหมู่เลือด Rh typing
ตรวจ Indirect Coomb’s test เพื่อหา antibodies
ทำครั้งแรกที่ฝากครรภ์ และเมื่ออายุครรภ์ 28 สัปดาห์
หากไม่พบ antibodies ให้ RhoGAM
อธิบายเกี่ยวกับแผนการรักษา และผลของ RhoGAM
ลดความวิตกกังวล
ลดความเครียด
ลดความกลัว
Thalassemia
polypeptide chain มีอย่างน้อย 4 ชนิด
beta (β)
gemma (γ)
alpha (α)
delta (δ)
สาเหตุ
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบ autosomal recessive
globin สังเคราะห์ผิดปกติ
ความผิดปกติทางโครงสร้าง
ความผิดปกติทางปริมาณ
การสร้าง globin สายใดสายหนึ่งไม่สร้างหรือลดลง
alpha น้อยลง
α-thalassemia
beta น้อยลง
β-thalassemia
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงมาก
thalassemia major
homozygous α-thalassemia (Hb Bart’s hydrop fetalis)
ทารกมักเสียชีวิตในครรภ์ หรือไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
homozygous β-thalassemia
มีอาการรุนแรงภายใน 2-3 เดือนหลังคลอด
เจริญเติบโตช้า ตับม้ามโต และเสียชีวิต
อาการรุนแรงปานกลาง
(thalassemia intermediate)
Hb H, α-thalassemia/Hb CS
ซีดปานกลาง ตับและม้ามโต ตัวเหลืองตาเหลือง
กลุ่มที่ไม่มีอาการ
(thalassemia minor)
กลุ่มพาหะ
กลุ่ม homozygous Hb E, homozygous Hb CS
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
ภาวะ Hb Bart’s hydropfetalis มักเกิดภาวะแทรกซ้อน
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ คลอดยาก
ตกเลือดหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
เกิดภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น้ําหนักน้อย หรือขาดออกซิเจนในระยะคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ซีด ตับม้ามโต ตัวเหลือง ตาเหลือง และ Thalassemia facies
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Screening test
การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสําหรับพาหะชนิด α-thalassemia 1 และ
β-thalassemia
mean corpuscular volume, MCV
ค่า MCV จะน้อยกว่า 80fL
mean corpuscular hemoglobin, MCH
ผู้ที่เป็นพาหะจะมีค่า MCH จะน้อยกว่า 27pg
Osmotic Fragility Test, OFT
การตรวจคัดกรองเบื้องต้นสําหรับพาหะชนิด Hb E
การทดสอบ Hb ไม่เสถียร
ตกตะกอนสีด้วยสี DCIP (Dichlo-rophenol-indolphemol precipitation: DCIP)
KKU-DCIP clear kit
Hb E screen
การตรวจเพื่อวินิจฉัย (diagnosis test)
Hemoglobin analysis
ตรวจวิเคราะห์ยีน
polymerase chain reaction (PCR)
hemoblobin electrophoresis
ตรวจระดับของ serum ferritin
การประเมินความเสี่ยงของคู่สมรส
คู่เสี่ยงที่มีโอกาสมีลูกเป็นโรค
คู่ที่ไม่จัดเป็นคู่เสี่ยง
แนวทางการรักษา
ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับโรคและการรักษา
แนะนำการคุมกำเนิดและตรวจหาโรคของคู่สมรส ร่วมกับการวินิจฉัยของโรค
การให้เลือดเพื่อป้องกันไม่ให้มีภาวะซีดและรักษาระดับฮีโมโกลบินให้สูง
การให้ยาขับเหล็ก
ตัดม้ามในรายที่มีอาการปานกลางถึงรุนแรง
การปลูกถ่ายไขกระดูก
การพยาบาล
อธิบายเกี่ยวกับโรค ขั้นตอนการรักษา และการตรวจคัดกรอง กับสตรีตั้งครรภ์สามีและครอบครัว เพื่อลดความวิตกกังวล และให้ความร่วมมือในการรักษา
การตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์
ให้การดูแลทางด้านจิตใจ
การตัดสินใจดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ
แนะนำการปฏิบัติตัว
การรับประทานอาหาร
การพักผ่อน
การรับประทานยา
การตรวจตามนัด
ภาวะการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระบบ ABO(ABO Incompatibility)
เป็นสาเหตุของ hemolytic disease ของทารกแรกเกิด
อาการและอาการแสดง
ทารกตัวเหลืองหลังคลอด 24hr.
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงสมองถูกทำลายเนื่องจากภาวะ kernicterus
คนที่รอดชีวิต
develop paralysis or nerve deafness
mental retard
แนวทางการประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติการตรวจกลุ่มเลือด
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดที่ผ่านมาเกี่ยวกับการไม่เข้ากันของกลุ่มเลือด ABO
การตรวจร่างกาย
ทารกที่มีจุดเลือดออกตามตัว ตับ ม้าม
เกิดจาการติดเชื้อในครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบินใน serum
ตรวจนับเม็ดเลือด
นับจํานวน reticulocytes
ตรวจลักษณะรูปร่างเม็ดเลือดแดง
ตรวจหมู่เลือด
Direct Coomb’s test
แนวทางการรักษา
หากรุนแรงอาจต้องเปลี่ยนถ่ายเลือดในระหว่างการตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 32 สัปดาห์ขึ้นไป
การกระตุ้นให้คลอด
เมื่อคลอดทารกมีอาการเล็กน้อยหรือปานกลาง
phototherapy
Neonatal Intensive Care Unit: NICU
exchange transfusion
การพยาบาล
ประเมินความเสี่ยงของคู่มารดาและทารก
อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยส่งเสริม พยาธิสรีรภาพ ผลกระทบต่อทารกในครรภ์และการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ติดตามภาวะ jaundice
ประเมินภาวะตัวเหลืองของทารกแรกเกิด
หากพบภายใน 24hr. หลังคลอด
เฝ้าระวังและประเมินภาวะpathologic jaundice รายงานแพทย์
ทารกแรกเกิดที่ได้รับการส่องไฟ
ระวัง burn
พลิกตัวทุก 3-4 ชั่วโมง
ปิดตาทารกด้วย eye patches