Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.4 การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์, 119685520_2257826297675531…
บทที่ 3.4 การตรวจช่องท้องและอวัยวะสืบพันธุ์
การตรวจท้อง (Abdomen)
การแบ่งหน้าท้องออกเป็น 4 ส่วน
2.Right upper quadrant (RUQ) คือ สวนบนขวา
3.Left lower quadrant (LLQ) คือ ส่วนล่างซ้าย
4.Left upper quadrant (RUQ) คือ สวนบนซาย
1.Right lower quadrant (RLQ) คือ สวนล่างขวา
การแบ่งหน้าท้องออกเป็น 9 ส่วน (นิยมมาก)
1.Hypochondrium ขวา
2.Epigastrium
3.Hypochondrium ซ้าย
4.Lumbar region ขวา
5.Umbilical area
6.Lumbar region ซ้าย
7.Inguinal region ขวา
8.Hypogastrium หรือ Suprapubic region
9.Inguinal region ซ้าย
อุปกรณ์ที่ใช้การตรวจส่วนท้อง
หูฟัง (stethoscope)
ถุงมือสะอาด
สายวัด
ผ้าคลุม
ภาวะผิดปกติจากการการตรวจท้อง
ดู: Ascites ท้องมานหรือท้องบวมน้ำ
ดู : hernia หรือไส้เลื่อน
ดู :carput medusae แสดงถึงการอุดตันของ portal vein
ฟัง :1. เสียงท้องที่ดังอยู่ตลอดเวลาหรือเกือบตลอดเวลา
ฟัง :2. เสียงท้องที่เงียบหายหรือนานๆ จึงจะได้ยินเสียงสักครั้ง
ฟัง :3. เสียงท้องที่แหลมชัด
เคาะ :เสียง hypertympany ในกรณีมีอากาศมาก
เคาะ :เสียง hypotvmpany หรือ Dullness เมื่อมีก้อน
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์
(Genital organ)
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ชาย
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีแผล ก้อน สิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติ และมีการอักเสบ
การตรวจอวัยวะสืบพันธุ์หญิง
ภาวะปกติ ผิวหนังไม่มีรอยโรค การกระจายของขนปกติ
ภาวะผิดปกติ ผิวหนังมีรอยโรค มีการอักเสบ แผล มีสิ่งคัดหลังผิดปกติ มีก้อน หรือมีการโผล่ของอวัยวะ
เทคนิคในการตรวจท้อง
2.การฟัง
เสียง
Bell ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงต่ำ
Diaphragm ใช้เพื่อตรวจสอบเสียงสูง
การเคาะ
เสียงท้อง
ภาวะปกติ จะได้เสียงโปร่ง หรือ tympany
จะค้นหาต่าแหน่งที่เคาะเจ็บ (localized tenderness)
การเคาะตับ
การเคาะม้าม
การเคาะไต (Costrovertebral angle tenderness,CVA)
การดู
รูปร่าง (Contour)
2.เว้าเหมือนเรือ (Scaphoid)
3.กลม (Rounded)
1.แบน (Flat)
4.การคลำ
•คลำลึกหรือคลำสองมือ (deep
palpable)
•การคลำตื้นการคลำเบา (light
palpable)
การคลำไต
การคลำตับ
การคลำม้าม
การคลำขาหนีบ
การคลำต่อมลูกหมาก
Abdominal Signs (อาการทางหน้าท้อง)
2.การกดเจ็บ (tenderness)
1.นุ่ม (Soft)
5.การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อตลอดเวลา (rigidity)
4.การเจ็บเมื่อกดแรงแล้วปล่อยมือออก (rebound tenderness)
3.การเกร็ง (spasm) หรือ (guarding)
การตรวจทวารหนัก
1.ใช้เทคนิค การดูและการคลำ อุปกรณ์ วาสลินหรือ K-Y jelly
2.สถานที่ตรวจ มิดชิด ปิดม่าน ควรมีบุคคลที่ 3 อยู่ด้วยเสมอ
3.จัดท่า นอนคว่่าเข่างอชิดอก หรือนอนตะแคงซ้าย เข่าและหลังงอ
ก. กดแตะที่ขอบทวารหนักก่อนสอด
ข ดันนิ้วเข้าไปในทิศทางชี้ไปทางสะดือ