Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS 2CB06977-AFDF-4D8E-9087-9959E68D2FDE -…
กระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS
ความหมายของกระบวนการพยาบาล NURSING PROCESS
การประเมินภาวะสขุภาพการวินิจฉัย การพยาบาลการวางแผน การพยาบาลการปฏิบัติ การพยาบาล และการประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล เพื่อส่งเสริมสุขภาพในผู้ที่สุขภาพดีป้องกันและแก้ไขหรือบรรเทา ปัญหาสุขภาพให้ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพหรือมีแนวโน้มจะเกิดปัญหาขึ้นในการดารงภาวะสุขภาพ
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การประเมนิภาวะสขุภาพ
(Health Assessment).
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
การวนิจิฉยัทางการพยาบาล
(Nursing Diagnosis)
การกาหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Defined Nursing Diagnosis)
การกาหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined data support)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การจัดลาดับความสาคญั ของปัญหา (Priority)
การกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ การพยาบาล (Goal/Objective)
การกาหนดเกณฑ์การประเมินผลการ พยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย (Desired/ Expected Out come)
การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล (Nursing activity)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
การบันทึกทางการพยาบาล (Nursing
documentation)
การประเมนิผล การพยาบาล (Evaluation)
ความสาคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลเป็น หัวใจของการปฏิบัติการ วิชาชีพพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
พยาบาลทราบถงึ เป้าหมายของการพยาบาลชัดเจนช่วยให้การดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลมุและต่อเนอื่ง
กระบวนการพยาบาลสง่เสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ช่วยให้พยาบาลได้ฝกึทกัษะการใช้ ความคดิอย่างมวีจิารณญาณ(Criticalthinking)
ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคณุภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
ทำให้ทีมการพยาบาลมีความ เข้าใจตรงกัน
ลดความซ้ำซ้อนหรือความผิดพลาดในการปฏิบัติการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
ทาให้พยาบาลวิชาชีพมีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมาก
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพฒันาวิชาชีพ
มีส่วนส่งเสริมให้พยาบาลมีการทำวิจัยมากขึ้น
ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
นักศึกษารู้สึก
การเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลเป็นสิ่งที่ยุ่งยากทำความเข้าใจลำบาก
มีความสับสนเวลาเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ใชเ้วลานานมากในการเขียนแผนการพยาบาลจึงทาให้ไม่อยากเขียน
นักศึกษาขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการใช้ กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
สำหรับพยาบาลวิชาชีพ
การใช้กระบวนการพยาบาลยังไม่ครบทุก
ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนยังทําไม่ครบถ้วน
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการนากระบวนการ
พยาบาลไปใช้ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ การขาดความรู้และทักษะในการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะขั้นตอน การวินิจฉัยการพยาบาล
แนวทางแก้ไข
ควรจัดการเรียนการสอน ทั้งรายวิชาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติทุกรายวิชาให้มีความสอดคล้องต่อเนื่องและเชื่อมโยงกันเน้นให้ศึกษาคิดวิเคาะห์และฝึกประสบการณ์ในการวนิจิฉยัการพยาบาลมากข้ึน
ผู้สอน ควรปลูกฝังทัศนคติที่ดีต่อการเรียนกระบวนการพยาบาลให้แก่นักศึกษา พยาบาล เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจว่ากระบวนการพยาบาลกับการปฏิบัติงานในคลินิกเป็น สิ่งที่สามารถปฏิบัติควบคู่ไปด้วยกันได้ และขณะฝึกปฏิบัติงานควรให้สอดคล้องกับ สภาพการณ์จริงเพื่อนักศึกษาจะได้นามาประยุกต์ต่อเนื่องได้เมื่อสาเร็จเป็นพยาบาล วิชาชีพและไม่เห็นว่าการใช้กระบวนการพยาบาลเป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้เฉพาะในการเรียน การสอนเท่านั้น
ควรมีการพัฒนาอาจารย์
ให้มีความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การใช้ภาษาในการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลควรมีความยืดหยุ่น เหมาะกับ สังคมไทย และเป็นแนวเดียวกัน เพื่อให้การสอนหรือการนิเทศนักศึกษาใน ภาคปฏิบัติไปในรูปแบบเดียวกันทาให้นักศึกษาเรียนรู้ได้ง่ายและไม่สับสน
กรอบแนวคดิของแนนดา
(NANDA)
กิจกรรม/การพักผ่อน(Activity/Rest)
การไหลเวียนโลหิต (Circulation)
ความสมบูรณ์ของจิตใจอารมณ์(Egointegrity)
การขับถ่าย(Elimination)
อาหารและน้ํา (Food & Fluid)
สุขอนามัยส่วนบคุคล(Hygiene)
7.การรับรู้และประสาทสัมผัส(Neurosensory)
ความเจ็บปวด (Pain/ Discomfort)
การหายใจ (Respiration)
ความปลอดภัย (Safety)
11.อนามัยทางเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality)
12.ปฏิสัมพันธ ทางสังคม(Socialinteraction)
การเรียนรู้ (Teaching/Learning)
กรอบแนวคิดแบบแผนสขุภาพของกอรด์อน(Gordon)
แบบแผนที่ 1 การรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ (Health perception and Health management)
แบบแผนท่ี 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร (Nutrition and Metabolism) แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย (Elimination)
แบบแผนที่ 4 กิจกรรมและการออกกาลังกาย (Activity and Exercise)
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ (Sleep and Rest)
แบบแผนท่ี 6 สติปัญญาและการรับรู้ (Cognition and perception)
แบบแผนที่ 7 การรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept) แบบแผนท่ี 8 บทบาทและสัมพันธภาพ (Role and Relationship)
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction)
แบบแผนท่ี 10การปรับตัวและการทนทานต่อความเครียด(Coping and Stress tolerance) แบบแผน 11 คุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
สิ่งสาคัญคือการมีความตระหนักถึงความสาคัญของกระบวนการพยาบาลและการมีทัศนคติที่ดีต่อการใช้กระบวนการพยาบาล
จะช่วยให้เกิดความมั่นใจในการใช้กระบวนการพยาบาลในการ ปฏิบัติงานและส่งผลให้การบริการ พยาบาลมีคุณภาพมากยิ่งข้ึน
ไม่อคติ ไม่ต่อต้าน ไม่ คิดว่าเป็นเรื่องยาก ให้ พยายามฝึกฝนโดยไม่ ต้องกังวล ว่าจะใช้ผิด
มีการประเมนิผลตนเอง โดยการตรวจสอบความ ถูกต้องตามหลักการเขียน
มีการประเมนิปญัหา อุปสรรคและปรับปรุง การใช้กระบวนการ พยาบาลอย่างสม่ำเสมอ