Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment), image, image, image,…
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health Assessment)
วิธีการซักประวัติ
ผู้รับบริการ เริ่มต้นด้วย การสร้างสัมพันธภาพที่ดี
คือ การทำให้ผู้รับบริการรู้สึกเป็นกันเอง
เกิดความไว้วางใจ
การสื่อสารโดยใช้คำพูด (Verbal communication)
ควรใช้คำพูดที่เหมาะสม นุ่นนวน ชัดเจน
คำถามปลายปิด ใช้เมื่อต้องการคำตอบแบบเฉพาะ
เจาะจงเช่น คุณเคยผ่าตัดหรือไม่
คำถามปลายเปิด ใช้เมื่อต้องการคำอธิบายราย
ละเอียดของข้อมูลเช่น การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร
การกล่าวนำ (General leads) เพื่อไม่ให้การสนทนาหยุดชะงัก เช่น แล้วยังไงต่อไปคะเล่าต่ออีกนิดซิคะ
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting) ผู้รับบริการ
สามารถคิดทบทวนในสิ่งที่ตนเองได้พูดถึงหรือ
สะท้อนความรู้สึกที่แท้จริงของตนเองออกมา
การทำความกระจ่าง (Clarification) เป็นการช่วย
ให้เข้าใจในสิ่งที่คลุมเครือ ไม่แน่ใจให้ชัดเจนขึ้นหรือ
เข้าใจได้ถูกต้องตรงกับสิ่งที่ผู้รับบริการต้องการจะบอก
การใช้ความเงียบ (The use of silence) การใช้ความ
เงียบอย่างเหมาะสม
การสรุป (Summarizing) เพื่อตรวจสอบการรับรู้ให้
ตรงกันระหว่างพยาบาลและผู้รับบริการก่อนที่จะ
เริ่มต้นสนทนาประเด็นต่อไป
วิธีการซักประวัติ
การสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูด (Non-verbal communication)
...การใช้ภาษาทางกายโดยการแสดงกิริยาท่าทาง เช่น การโบกมือ การยิ้ม การพยักหน้า
...การใช้วิธีการสัมผัส เช่น การจับมือ บีบมือเบา ๆ การลูบหลัง
...การฟัง
ฟังอย่างตั้งใจนอกจากจะได้ข้อมูลที่ถูกต้องจากผู้รับบริการ
แล้วยังเป็นการยอมรับเเละเห็นคคุณค่า
มีการพยักหน้าหรือใช้คำพูดที่บ่งบอกว่ารับรู้และติดตาม
การสนทนาอยู่
...การบันทึก
บันทึกข้อมูลได้เป็นระยะ ๆ ในขณะซักประวัติ
เมื่อสิ้นสุดการซักประวัติให้ทบทวนข้อมูลทั้งหมดที่บันทึกไว้อีกครั้ง
การบันทึกควรใช้ภาษาที่ถูกต้องไม่แปลความหรือแทรกความรู้สึก
การเตรียมตัวก่อนการซักประวัติ
ศึกษาข้อมูลของผู้รับบริการ
ศึกษาแบบฟอร์มหรือกรอบแนวคิดในการซักประวัติ
วางแผนการซักประวัติ
ขั้นตอนการซักประวัติ
ขั้นตอนเริ่มต้นการสนทนา แนะน าตัวเองและบอกวัตถุ
ประสงค์ของการซักประวัติให้ผู้รับบริการเข้าใจ
ขั้นตอนสนทนาเนื้อหา พยาบาลซักถามข้อมูลที่ต้องการจาก
ผู้รับบริการเพื่อให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ไม่ควร
พูดนอกเรื่อง มุ่งเน้นที่ข้อมูงของผู้บริการเพียงอย่างเดียว
ขั้นตอนสิ้นสุดการสนทนา สรุปการสนทนาสั้นๆ ให้ความ
ช่วยเหลือตามความสามารถทันที เเสดงความขอบคุณใน
การให้ความร่วมมือ
การซักประวัติสุขภาพ
ข้อมูลส่วนบุคคลหรือประวัติส่วนตัว (Patient profile or Personal history)
อาการสำคัญ (Chief complaints ตัวย่อ C.C.) ประกอบด้วยอาการสำคัญ
2-3 อาการ เป็นอาการหลักหรือเป็นอาการที่เป็นปัญหาหรือสาเหตุที่ทำให้
ผู้ป่วย หรือญาติต้องพาผู้ป่วยมารับการรักษารวมถึงระยะเวลาตั้งแต่เริ่มมี
อาการสำคัญจนถึงเวลาที่มาโรงพยาบาล เช่น
ซีด อ่อนเพลีย ก่อนมาโรงพยาบาล 2 เดือน หรือเป็นลมหมดสติก่อนมา
โรงพยาบาล 1 ชั่วโมง
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present ilness ตัวย่อ P .I.) เป็นอาการที่ขยาย
รายละเอียดจากอาการสำคัญ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. ) เป็นประวัติเจ็บป่วย
อื่นๆของผู้รับบริการนอกเหนือจากการเจ็บป่วยปัจจุบันรวมทั้งประวัติอื่น ๆ
ที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยการ
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history ตัวย่อ F.H. )
การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
พิจารณาตามความเหมาะสมกับอายุและสถานการณ์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ