Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment, 6May__Page_19, images (1) -…
บทที่2การประเมินภาวะสุขภาพ Health Assessment
การเก็บรวบรวมข้อมูล(Data Collection)
ชนิดของข้อมูล (Type of data)
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับ การรับรู้ภาวะสุขภาพ วิถีการดำเนินชีวิตความคิดเห็นที่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณและการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเช่น สามีภรรยา พ่อแม่หรือเจ้าหน้าที่ต ารวจที่น าผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล
ข้อมูลอัตนัย ส่วนใหญ่จะเป็น ความรู้สึกนึกคิด อัตมโนทัศน์ ค่านิยมประเพณี วัฒนธรรมและความเชื่อต่างๆเป็นข้อมูลที่พยาบาลไม่สามารถจะทราบและประเมินผู้รับบริการได้ด้วยวิธีการตรวจวัดต่างๆ แต่จะได้ข้อมูลจากการซักประวัติผู้รับบริการและญาติเท่านั้นอาการหรือความรู้สึกที่ผู้รับบริการบอกเล่าให้ฟังเรียกว่า "Symptoms”
** ข้อมูลอัตนัย เป็นสิ่งที่ผู้ป่วย
บอก เล่า
ข้อมูลปรนัย (Objective data) เป็นข้อมูลที่
ได้จาก
-จากการสังเกต
การตรวจร่างกาย
-การตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ
-สิ่งที่ตรวจพบเรียกว่าอาการแสดง “Signs”
-ข้อมูลจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ
-การการตรวจพิเศษต่าง ๆ
แหล่งของข้อมูล (Source of data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)เป็นข้อมูลที่พยาบาล
รวบรวมได้จากการสังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพจากผู้รับบริการโดยตรง ข้อมูลจากการตรวจร่างกาย ข้อมูลปฐมภูมิจึงเชื่อถือได้มากที่สุด
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)เป็นข้อมูลที่พยาบาล
เก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ ได้แก่
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด ู้พบเห็นเหตุการณ์ทีมสุขภาพข้อมูล จากรายงานหรือเวชระเบียนของผู้ป่วยข้อมูล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method of data collection)
การสังเกต
เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือการดู การฟัง การดมกลิ่น การลิ้มรส การสัมผัสด้วยมือ
การสังเกตที่ดี จะช่วยให้
•พยาบาลรับรู้ปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการได้ถูกต้อง
•พยาบาลสามารถวางแผนการพยาบาล
•พยาบาลช่วยเหลือแก้ไขปัญหาให้
ผู้รับบริการได้เหมาะสมกับปัญหา
สิ่งที่ควรสังเกต มีดังนี้
(1) ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ
(2) สีหน้า น้ าเสียง และการพูดคุย
(3) พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
(4) กิจกรรมต่างๆหรือกิจวัตรประจ าวันที่ผู้รับบริการ
ปฏิบัติ
(5) อาการแสดง (Signs) ต่างๆของผู้ป่วย
การสัมภาษณ์การซักประวัติ
การซักประวัติ (History taking)การซักประวัติ เป็นการสนทนาพูดคุยกับผู้รับบริการญาติหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสังเกต
สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการซักประวัติ มีดังต่อไปนี้
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการซักประวัติ
(1.1) สภาพของผู้รับบริการ
(1.2) บุคลิกลักษณะของพยาบาล
(1.3) สภาพแวดล้อมในการ
สัมภาษณ์
2) หลักทั่วไปของการซักประวัติ
(2.1) ผู้ชักประวัติ
(2.2) จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการซัก
ประวัติ
(2.3) จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
(2.4) ควรก าหนดวัตถุประสงค์ของ
การซักประวัติไว้ล่วงหน้า
(2.5) ควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคลภาวะสุขภาพภาวะเจ็บป่วยต่างๆรวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3) วิธีการซักประวัติวิธีการซักประวัติ
ผู้รับบริการ ประกอบด้วย
3.1 การสร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการ
3.2 การสื่อสารการฟัง
3.3 การบันทึก
4.การเตรียมตัวก่อนการซักประวัติ
(4.1) ศึกษาข้อมูลของผู้รับบริการ
(4.2) ศึกษาแบบฟอร์มหรือกรอบแนวคิดในการซักประวัติ
(4.3) วางแผนการซักประวัติ
(5) ขั้นตอนการซักประวัติ(5.1) ขั้นตอนเริ่มต้นการสนทนา(5.2) ขั้นตอนสนทนาเนื้อหา5.3) ขั้นตอนสิ้นสุดการสนทนา
(6) การซักประวัติสุขภาพประวัติสุขภาพ ประกอบด้วย
(6.1) ข้อมูลส่วนบุคคลหรือประวัติส่วนตัว
(6.2 อาการส าคัญ (Chief complaints ตัวย่อ C.C. )
(6.3) ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present
illness ตัวย่อ P.I. )
(6.4) ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. )
6.5) ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history ตัวย่อ F.H. )
6.6) การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การตรวจร่างกาย
การเก็บรวบรวมมข้อมูลจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่างๆ
2.2 การวิเคราะห์ข้อมูล
(Analysis of Data)
การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการน าข้อมูลที่
รวบรวมได้ทั้งหมด จาก
• การซักประวัติ
• การตรวจร่างกาย
• การวิเคราะห์ผลการตรวจทาห้องปฏิบัติการ
• การตรวจพิเศษน าข้อมูลดังกล่าวมาจัดหมวดหมู่แล้ววิเคราะห์
ว่าข้อมูลใดผิดปกติโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการ
ข้อควรพึงระลึกถึง
-การเก็บรวบรวมข้อมูล ไม่ว่าด้วยวิธีการใดหรือจากแหล่งข้อมูลใดควรเป็นข้อมูลที่ครอบคลุมทั้ง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม
และจิตวิญญาณของผู้รับบริการ
-การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล จะต้องมีความถูกต้องเชื่อถือได้และปราศจากอคติหรือการใช้ความคิดเห็นของผู้รวบรวมข้อมูล
ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลจากการประเมินภาวะสุขภาพของผู้รับบริการมีความส าคัญต่อความถูกต้องสมบูรณ์ของการก าหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการวางแผนการพยาบาลต่อไป
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจ าวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ