Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3
การวัดสัญญาณชีพ, ตำเเหน่งในการคลำชีพจร, ปรอทสําหรับวัดทางปากและรั…
บทที่ 3
การวัดสัญญาณชีพ
สัญญาณชีพ (Vital signs) เป็นสัญญาณซึ่งบงบอกถึงการมีชีวิตของมนุษย์ได้แก่อุณหภูมิร่างกาย การหายใจ ชีพจรและความดันเลือด
อุณหภูมิปกติ 36.5 - 37.4 ํc
- อุณหภูมิเมื่อวดทางปากถ้าสูงเกิน 37.50 องศาเซลเซียส
เรียกว่ามีไข้ (Fever, Pyrexia, Febrile, Hyperthermia)
37.60–38.30 องศาเซลเซียส เรียกว่า ไข้ต่ำ ๆ (Low fever)
38.40–39.40 องศาเซลเซียส เรียกว่า ไข้ปานกลาง(Moderate fever)
39.50–40.50 องศาเซลเซียส เรียกว่า ไข้สูง (High fever)
สูงกว่า 40.50 องศาเซลเซียส ขึ้นไป เรียกว่า ไข้สูงมาก (Very high fever)
- การวัดอุณหภูมิวัดได้ 3 ตำเเหน่ง
คือ ปาก ทวารหนัก เเละรักเเร้
ปรอท (Thermometer) มี 2 ชนิด คือ
- ปรอทสําหรับวัดทางปากและรักแร้
- ปรอทสําหรับวัดทางทวารหนัก
การวัดปรอท
- สํารวจให้ปรอทอยู่ในกระเปาะต่ำกว่า 35 องศาเซลเซียส
- การวัดทางปาก ให้ผู้ป่วยอมปรอทไว้ใต้ลิ้น ปิดปากให้สนิท นาน 2 – 3 นาที
- การวัดทางรักเเร้ สอดปรอทไว้นาน 5 นาที
- วัดทางทวารหนัก ทาปลายปรอทส่วนกระเปาะด้วยวาสลิน สอดปรอทเข้าทางทวารหนักลึกประมาณ 0.50 - 1 นิ้วฟุต วัดนาน 1 - 2 นาที
- คือการหดและขยายตัว
ของผนังเส้นเลือด
- ในการคลําชีพจรนิยมคลําที่ตําแหน่งเส้นเลือดแดง
เพราะจะคลําได้ชัดเจนกว่า
วิธีการคลําชีพจร
- ใช้ปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนางวางแตะลงบนตําแน่ง
เส้นเลือดแดงที่ข้อมือด้านนอก กดเบา ๆ
- นับการเต้นของชีพจรให้เต็ม 1 นาทีพร้อมกับสังเกต
จังหวะการเต้้น ความหนักความเบาของชีพจรด้วย
- บันทึกจานวนครั้งของชีพจร ความหนัก / เบา และ
จังหวะการเต้นของชีพจร
- สิ่งที่ต้องสังเกตในขณะคลําชีพจร
- อัตราเร็วอัตราเร็วของชีพจรปกติของผู้ใหญ่
โดยทั่วไปประมาณ 60–100 ครั้งต่อนาที
เด็กประมาณ 90–130 ครั้งต่อนาที
- ความแรงของชีพจร (Volume of pulse)
- จังหวะ (Rhythm)
- การหายใจภายนอก (External respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนของออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซค์ระหวางปอด
กับอากาศภายนอก
- การหายใจเข้า (Inspiration) จังหวะนี้จะมีการยกตัวของกระดูกซี่โครงพร้อม ๆกับกระบังลมมีการหย่อนต่ำลงในช่องท้อง ทําให้มีการขยายตัวของทรวงอกและหน้าท้อง
- การหายใจออก (Expiration) ในจังหวะนี้จะมีการหดตัวเข้าหากันของกระดูกซี่โครง ทําให้หน้าอกบุ๋มลง พร้อม ๆ กับกระบังลมจะดันตัวสูงขึ้นไปในช่องอก ทําให้ช่องอกแคบเข้า
ปอดจะถูกบังคับให้แฟบลง
- การหายใจภายใน (Internal respiration) เป็นการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ระหวางเซลล์ต่าง ๆ ทั่วร่างกายกับเส้นเลือด
- วิธีนับการหายใจ นับการหายใจเข้า และออกโดยดูจากการขยายและหดตัวของทรวงอก 1 รอบเป็นการหายใจ 1 ครั้ง นับเต็ม 1 นาที
- อัตราเร็วของการหายใจ มีหน่วยเป็น ครั้งต่อนาที ซึ่งการหายใจ 1 ครั้ง หมายถึงการหายใจเข้าและหายใจออก
1 รอบ ปกติจะอยู่ที่ประมาณ 16 - 24 ครั้งต่อนาที
- ความดันเลือด (Blood pressure)
- จังหวะที่หัวใจบีบตัว(Systole) อยู่ที่ประมาณ
90 - 140 มิลลิเมตรปรอท และ
จังหวะที่หัวใจคลายตัว (Diastole) อยู่ที่ประมาณ
60 - 90 มิลลิเมตรปรอท
- การวัดความดันเลือด
วิธีการฟังและวิธีการคลํา เครื่องมือที่ใช้ในการวัดความ
ดันเลือดได้แก่หูฟัง (Stethoscope) และเครื่องวัดความดันเลือด(Sphygmomanometer) แบบแท่งปรอทและหูฟัง
เเละแบบแป้นกลม
การวัดความดันเลือด
- วางเครื่องวัดให้อยู่ในระดับเดียวกับหัวใจของผู้ป่วย
- ไล่ลมออกจากผ้าพันแขนให้หมด
- พันผ้าพันแขนรอบแขนเหนือข้อพับขึ้นไป 1 นิ้วไม่ให้แน่นหรอหลวม
- เหน็บปลายผ้าให้เรียบร้อย แรงดันปรอทที่บีบขึ้นไปไม่ควรมากเกินไป
- ใส่หฟังและวางแป้นของหูฟังตรงตําแหน่งชพจรที่คลําได้
- บีบลูกยางด้วยอุ้งมือให้ลมเข้าไปในผ้าพันแขน ดันให้ปรอทในเครื่องวัดสูงกว่าค่าปกติของความดันซิสโตลิคประมาณ 20 มิลลิเมตรปรอท (140 + 20 = 160)
- ค่อย ๆ คลายเกลียวลูกยางปล่อยลมออกจากผ้าพนแขน โดยให้ระดับปรอทค่อย ๆ ลดลงช้า ๆ และให้ตั้งใจฟังเสียงเต้นของผนังเส้นเลือด จะได้ยินเสียงตุบเเรก คือค่าความดันสูงสุด ัหรือความดันซิสโตลิค เเละเสียงสุดท้ายเป็นค่าความดัน
ขณะที่หัวใจคลายตัวหรือความดันไดแอสโตลิค
-
- ปรอทสําหรับวัดทางปากและรักแร้
-
- ปรอทสําหรับวัดทางทวารหนัก
-
-
-
- ศูนย์การควบคุมอณหภูมิของร่างกาย อยู่ที่ (Hypothalamus)
ส่วนกลไกการระบายความรอนของร่างกายมี 4 วิธี ได้แก่
- การแผ่รังสี เป็นการระบายความร้อนออกจากรางกายไปยัง
สิ่งแวดล้อมรอบตัว
- การระเหย เป็นไอ เช่น การระเหยของเหงื่อและลมหายใจ
- การพาความร้อน เช่น ความร้อนออกมากับปสสาวะและอุจจาระ
- การนาความร้อน เช่น การใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตวลดไข้
- การทํางานของระบบประสาทอัตโนมัติ
- ลดการระบายความร้อน ทำให้ผิวหนังซีด
- ขนลุก
- มีอาการหนาวสั่น (Chill)
- เพิ่มการหลั่งอพิิเนฟริน (Epinephrine) และ
นอร์อิพิเนฟรนิ(Norepinephrine) จากต่อมหมวกไต
-