Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 ปัญหาสุขภาพอาการผิดปกติ ที่พบบ่อยและการจัดการอาการ…
หน่วยที่ 8
ปัญหาสุขภาพอาการผิดปกติ
ที่พบบ่อยและการจัดการอาการ และการใช้การแพทย์ทางเลือก
โรคหัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจไม่สมดุลกับการใช้ออกซิเจนเลือดไปเลี้ยงลดลงอย่างเฉียบพลัน plaque แตกเกิดการอุดกั้น
ปัจจัยเสี่ยง
การหนาตัวของเส้นเลือด คราบไขมัน ความหนืดของเลือด กระบวนการแข็งตัวของเลือด
เบาหวาน โรคอ้วน ความเครียด บุหรี่และยา
อาการ
เจ็บหน้าอก
Unstable angina เกิดขณะพักอยู่ (อันตราย)
Stable angina เกิดเมื่อมีปัจจัยชักนำ เช่น ออกกำลังกาย
เหงื่อออก ตัวเย็น อาการทางจิตใจ คลื่นไส้ อาเจียน ไข้ อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการเจ็บหน้าอกรีบทำการตรวจ EKGภายใน 10 นาที
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ST ยกขึ้นและลดต่ำลง T wave หัวกลับ
การตรวจ cardiac biomarker
TroponinI และ T สูงขึ้นภายใน 2-3 ชม
การตรวจพิเศษ
ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง(Echo),การสวนและฉีดสี
หลอดเลือดหัวใจ (cardiac cath)มักทำ femoral
การรักษา
การจำกัดบริเวณการขาดเลือดไม่ให้เกิดในวงกว้าง เปิดด้วยยาละลายลิ่มเลือด หรือขยายด้วยบอลลูน
STEMI ใน 12 ชม. ให้ยาละลายลิ่มเลือด(t-PA),การถ่างขยายหลอดเลือด
NSTEMI,Unstable angina ป้องกันการเกาะกลุ่มเกล็ดเลือด Enoxaparin
ข้อวินิจฉัยและการพยาบาล
การกำซาบของเนื้อเยื่อหัวใจลดลงเนื่องจากการไหลของเลือดในหลอดเลือดหัวใจลดลง
การพยาบาล
บันทึกอาการเจ็บหน้าอก ถามปัจจัยชักนำที่ทำให้เกิด
PQRST
Absolute bed rest รับยาขยายหลอดเลือด การสอบถามการแพ้อาหารที่มีโซเดียม
เหยียดขาข้างที่ทำ 4-6 ชม
ดูสีผิวหลังทำ
หัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
Acute
เฉียบพลัน กล้ามเนื้อหัวใจตาย,ลิ้นหัวใจรั่วรุนแรง
Chronic
หัวใจล้มเหลวบ่อยๆ ซ้ำๆ HT,กล้ามเนื้อหัวใจตาย
แบ่งตามการบีบตัวของหัวใจ
HFrEF จากการทำ echo การบีบตัวห้องล่างซ้ายต่ำกว่า 40%
HFmrEF LVEF 40-49% ,BNP>35, NT proBNP>125 หัวใจห้องล่างหนาตัว คลายตัวไม่มีประสิทธิภาพ (ส่งเลือดไปตรวจ)
HFpEF LVEF 50% ขึ้นไป เหมือน(HFmrEF)
แบ่งตามความรุนแรง
A
เสี่ยงเท่านั้น HT,DM
B
ผิดปกติแต่ไม่มีอาการ MI,ห้องล่างซ้ายหนาตัว
C
หัวใจเคยล้มเหลวมาก่อน
D
ระยะสุดท้ายของโรค ควบคุมอาการไม่ได้
แบ่งตามหน้าที่ทางกาย
class1
ผู้ป่วยไม่มีข้อจำกัด
class2
ADL ทั้งหมด มีเหนื่อยแต่พักแล้วหาย
class3
ทำได้บางอย่าง เหนื่อยง่าย
class4
ทำ ADL ไม่ได้เลย
ปัจจัยเสี่ยง BP >160/90
หลอดเลือดตีบแข็ง โรคหลอดเลือดหัวใจ
พยาธิสภาพ
Sympathetic,RAAS,ADH,preload,afterload,contractilityเพิ่มขึ้น
อาการแสดง
ซีกซ้ายวาย
เหนื่อยขณะนอนหลับ นอนราบไม่ได้,PND(ต้องตื่นมานั่งหายใจ),RAAS เพิ่มขึ้น
ซีกขวาวาย
น้ำคั่ง,น้ำในช่องท้อง,หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
การประเมิน
การซักประวัติ โรคเรื้อรังอื่นร่วมด้วย แบ่งตามความเหนื่อย
การตรวจร่างกาย ประเมินการบวม การเหนื่อย ระดับสติลดลงหรือหมดสติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การคั่งของปอด ดูระดับ BNPสูงแต่ LVEFลด, ความหนาของหัวใจ คลื่น P สูงหรือกว้าง
การรักษา
Stage A หารใช้ยา statin ป้องกันหลอดเลือดแดงตีบแข็ง,ACEIs หรือARBs ในเบาหวาน ออกกำลังกาย
Stage B ป้องกันการเกิดอาการแสดง และดูแลปัจจัยเสี่ยง
Stage C ควบคุมตามอาการใช้ยา ACEIs/ARB,B-blocker ร่วมกับ loop diuretic เช่น furosemide (อาจใช้ digitalis, hydralazine)
Stage D ทำ palliative care
การพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจใน 1นาทีลดลงเนื่องจากหัวใจบับตัวลดลง
ดูแลให้ยาลด afterload ACEIs(s/eไอแห้ง)/ARBs ทดแทน ให้ยาลด preload เช่นยาขับปัสสาวะ ลด Na,V/S, ดู pitting edema
ความดันโลหิตสูง
BP 140/90 ขึ้นไป
การประเมินภาวะเสี่ยงต่อ TOD,CVD
อวัยวะที่ถูกทำลาย(TOD),เพื่อตรวจโรคที่เสี่ยงต่อการเกิด CVD เช่น DM,CKDตั้งแต่ระยะ 3ขึ้นไป
อาการบ่งชี้ TOD เช่น เหนื่อยง่าย ใจสั่น เจ้บแน่นหน้าอก ,โรคอ้วนและภาวะอ้วนลงพุง
การตรวจหา TOD และ CVD: PMI เคลื่อนไหทางซ้ายลงล่าง,ขาบวม ซีด ผิวแห้ง อาการปากเบี้ยว ชีพจรแขนขาเบาคลำไม่ได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Hb,Hct,ECG,เสี่ยงต่อ CVD ตรวจ echo วัดปริมาณ albuminuria
การรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, รักษาด้วยยา(Thiazide,CCBs,ACEIs,ARBs)
การพยาบาล
วัดความดัน ชั่งน้ำหนักตัว สังเกตอาการปวดมึนศรีษะบริเวณท้ายทอย ออกกำลังกายแบบแอโรบิค ควบคุมอาหาร ผ่อนคลายความเครียด
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สูบบุหรี่,การขาด alpha1-antitrypsin,โรคหอบหืด
พยาธิสภาพ
การจำกัดการไหลของอากาสและการขังของอากาศในถุงลม
หลอดลมจะหนาตัวขึ้น มีสารคัดหลั่ง ระบายอากาศได้ลดลง
ความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การคั่งค้างของอากาศในถุงลม
มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น
เมื่อเจอควันบุหรี่เกิดการหลั่งเสมหะมากขึ้น
ความดันในปอดสูง
หัวใจซีกขวาล้มเหลวตามมา หายใจลำบาก ไอมีเสมหะ หายใจมีเสียงหวีด
อาการแสดง
เหนื่อย หายใจลำบากกล้ามเนื้อมัดเล็กหายใจ หายใจมีเสียงหวีด
การวินิจฉัยโรค
Chest x-ray
,
การซักประวัติ
,
การตรวจร่างกาย
การสูบบุหรี่ Barrel shape(1:1) ปอดพองลมทั้งสองข้าง การคั่ง CO2
FEV1/FVCX100<70% เป็น COPD
สมรรถภาพปอด,ABG
การรักษา
การใช้ยา
ยาขยายหลอดลมกลุ่ม Beta-adrenagic agonist(Sulbutamol,Terbutaline) ประเมินการเต้นของหัวใจขณะให้ยา ใจสั่น
ยาขยายหลอดลมกลุ่ม Anticholinergic ออกฤทธิ์ยาวกว่า beta (Ipratropium bromide หรือ berodual)
ยาขยายหลอดลมกลุ่ม Methylxanthines(Theophyline) ระวังหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยาลดการอักเสบกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ ควรใช้กับกลุ่ม beta S/Eเกิดเชื้อราในปาก ต้องบ้วนปาก
การรักษาด้วยออกซิเจน 88-92% อย่าให้พร่องอาจเกิดภาวะเลือดข้น
การให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่, การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด ออกกำลังกาย แอโรบิค ดูแลโภชนาการ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ความบกพร่องในการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ลดลงและเสมหะปริมาณมาก
การพยาบาล
High Fowler ให้ออกซิเจน ดื่มน้ำอุ่นสลายเสมหะ
การระบายเสมหะไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากมาก เหนัยวและไอไม่มีประสิทธิภาพ
การพยาบาล
ฟังเสียงหายใจ ได้รับน้ำอย่างพอเพียง ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง เคาะปอด การทำ purse lip(ปากจู๋)
ความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากหายใจลำบาก
การพยาบาล
ออกกำลังกายทำกายภาพบำบัด ให้ออกซิเจน
มีความวิตกกังวลเนื่องจากหายใจลำบาก
การพยาบาล
การสอน ใให้ความรู้ ประเมินความรุนแรง
มีภาวะทุพโภชนาการเนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อยหรือความอยากลดลง
การพยาบาล
ลด CARB หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูปที่มีไนไตรท์ ควบคุม Na หลีกเลี่ยงอาหารร้อน/เย้นจัด เพราะกระตุ้นการไอ
ปัญหาการสื่อสาร
ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
หู การได้ยินลดลง เยื่อบุแก้วหูแข็ง(ไม่ใช้เสียงสูง), ตา ตาฝ้ามัว มองไม่ชัด (ยืนให้ตรงผู้ป่วย),อวัยวะการพูด มะเร็งกล่องเสียง
ความผิดปกติของการสื่อสาร
Aphasia
พูดไม่ได้ พูดได้หรือไม่เข้าใจภาษา: โรคหลอดเลือดสมอง อุบัติเหตุทางสมอง เนื้องอกที่สมอง
ปัญหาเรื่องการับรู้เข้าใจในภาษา Wernicke’s aphasia
พูดตามไม่ได้ ไม่เข้าใจในสิ่งที่คนอื่นพูด เขียนตามคำบอกไม่ได้
ปัญหาแสดงออกทางภาษา แต่เข้าใจในภาษาที่ปกติ Broca’s aphasia
พูดไม่คล่อง เข้าใจคนอื่นแต่พูดไม่ชัด ไม่สามารถบอกความต้องการ
ปัญหาเรื่องการนึกคำพูด Nominal aphasia
คิดคำสัพท์ที่จะพุดได้ลำบาก พูดอ้อมๆ เช่น จาน แต่เรียกที่ใส่ข้าว
ปัญหาทั้งเรื่องการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจภาษาGlobal aphasia
Dysarthria
กล้ามเนื้อการพูดผิดปกติ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
การพยาบาล
ฝึกพูด ออกกำลังกาย มักมีปัญหาการกลืนด้วย ฝึกออกเสียง สื่อสารคำสั้นๆ มีความอดทนรอผู้ป่วยพูดและฝึกกับเรา การใช้อวัจนะภาษา การวาดรูป การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อบอกทิศทางได้ถูก
การทำงานของสมอง
ซีกซ้าย
ควบคุมภาษาและทักษาที่ถนัดขวา(aphasia) มีWernicke’s area
ซีกขวา
การเคลื่อนไหวการรับรู้ ถ้าได้รับบาดเจ็บจำทิศทางไม่ได้ ไม่สนร่างกายด้านตรงข้าม
Broca’s area ถ้าถูกทำ
ลายสูญเสียการสื่อสารออกมาเป็นคำพูด พูดได้ลำบาก
โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke),โรคอัมพาต
เกิดจากสมองขาดเลือด (พบมาก),การมีเลือดออกในสมอง Brain attack, ต้องรีบรักษาเร่งด่วน(Time is brain)
อาการ (ได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 3 ชมจะดีมาก)
หน้าเบี้ยว แขนขาอ่อนแรง พูดไม่ชัด
ปวดศรีษะ อาเจียน ความรู้สึกตัวลดลง กลืนลำบาก
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้ อายุ เพศ ชาติ พันธุกรรม
ปัจจัยที่เปลี่ยนได้ เช่น ความดันโลหิตสูง Atrial fibrillation โรคหลอดเลือดหัวใจ ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง carotid(เสียงbruit) บุหรี่ เบาหวาน ไขมันเลือดสูง
การประเมินสภาพ
ประวัติ อาการสำคัญ ระยะเวลาที่เกิด,GCS หน้าเบี้ยวพูดไม่ชัด
SBP>185-220,DVP>120-140 พร่องออกซิเจน<95% ,GCS<10
การตรวจวินิจฉัย
ห้องปฏิบัติการ การตรวจทางรังสี (ดูแลเรื่องหายใจก่อน)
การรักษา
การรักษาแบบทางด่วน(fast track)
มารพ ไม่เกิน 3 ชม ให้ยาละลายลิ่มเลือด(RTPA) ได้รับASA ภายใน48ชม
RTPA ห้ามให้ในผู้ป่วยที่ไม่ทราบอาการเกิดขึ้นแน่นอน มีประวัติผ่าตัดใหญ่ 2wks เนื้อสมองตายมากกว่า 1 กลีบ
การรักษาแบบไม่ใช่ทางด่วน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากหลอดเลือดในสมองตีบ อุดตัน/แตก
การพยาบาล
ขณะให้ยาลิ่มเลือด
อธิบายให้เข้าใจ เปิดหลอดเลือดดำ 2 เส้นระวังการมีเลือดออก งดกิจกรรมหลังได้รับยา 24 ชมอาเจียนพุ่ง GCS ลดลง
ระยะฉุกเฉินและวิกฤต
ระวังพร่องออกซิเจน ประเมินความรู้สึกตัวไม่ควรให้ Nifedipine อมใต้ลิ้นหรือทางปาก bp drop ขึ้นสมองมาก NPO นอนศรีษะสูง 30องศา ไม่ยกเข่าสูงมาก
ป้องกันภาวะความดันกะโหลกศรีษะสูง(IICP)
ไม่ให้เกิดแรงดันในช่องอก ไม่ไอหรือจามแรง ไม่ใส่ PEEP
ข้อเสื่อม(Osteoarthritis:OA)
การเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อนผิวข้อ สึกบางลงเศษกระดูกลอยในข้อ ปวดและเคลื่อนไหวยาก
ปัจจัยชักนำ
อายุ ใช้งานข้อมาก โรคอ้วนขาด VitaminD,K
อาการ
ปวดตื้อๆบริเวณข้อ ข้อฝืด ข้อบวมผิดรูป เข่าโก่ง เข่าฉิ่ง
การวินิจฉัย
ซีกประวัติ ถ่ายภาพรังสีเห็นช่องว่างแคบลง เจาะเลือด
การรักษา
ไม่หาย แค่บรรเทาอาการปวด
ไม่ใช้ยา
หลีกเลี่ยงการขึ้นบันได ลดน้ำหนัก บริหารกล้ามเนื้อ เดินเร็วว่ายน้ำ
ถือไม้เท้าด้านตรงข้ามที่ปวด
บริหารกล้ามเนื้อ
นั่งห้อยเท้า นั่งบนเก้าอี้พักเท้าอีกข้างไว้บนพื้น นั่งบนเก้าอี้หลังพิงพนัก ยกเท้าขึ้นเเละเกร็ง
การรักษาโดยใช้ยา
ยาแก้ปวด ยาแก้อักเสบNSAID ยาบำรุงกระดูก
การผ่าตัด
ผลดี โรคแทรกซ้อนน้อย ผ่าโดยส่องกล้อง แก้ความโก่งงอของเข่า ผ่าใส่ข้อเข่าเทียม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปวดเรื้อรังเนื่องจากมีการอักเสบของข้อ
การพยาบาล
ประเมินความปวด การเคลื่อนไหว สังเกตการอักเสบ ประคบร้อนเพื่อลดปวด หลีกเลี่ยงการใช้ข้อ ดูแลให้ยาและด้านจิตใจ
Flexibility (ยืดหยุ่น:โยคะ),Strengthening ยกน้ำหนัก,Endurance ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน
กระดูกพรุน(Osteoporosis)
ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดลง
อาจกระดูกหักตามมา คุณภาพชีวิตลดลง
สาเหตุและปัจจัย
หญิงมากกว่าชาย สตรีหมดประจำเดือน การมีรูปร่างเล็กผอม(BMI<19) กรรมพันธุ์ เบาหวาน โรคไต ตับแข็ง
การใช้ยาที่มีผลสลายเนื้อกระดูก เช่น สเตียรอยด์ การไม่เคลื่อนไหว
ทานอาหารรสเค็ม ทานโปรตีนสูง แคลเซียมไม่เพียงพอ
ขาด Vitamin D
อาการและอาการแสดง
ปวดหลัง Dowager’s hump น้ำหนักลดกล้ามเนื้อบั้นเอวเกร็ง ก้มได้น้อยกว่าแหงนเหยียด
การวินิจฉัย
DEXA วัดความหนาแน่นกระดูก BMD < -2.5SD
การรักษา
ไม่ใช้ยา
ควบคู่กับใช้ยา(biphosphonate) รับแคลเซียมพอ วิตามินดี ออกกำลังกาย;แอโรบิคออกแรงต้าน การประบเปลี้ยนพฤติกรรม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปวดเนื่องจากมีแรงกดที่กระดูกและเนื้อกระดูกลดลง
การพยาบาล
ให้ทำกิจกรรมและถูกแสงแดด ทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง ประเมินอาการปวด
โรคเบาหวาน
เบาหวานชนิดที่ 1
พบในเด็กที่ขาดอินซูลิน ไม่สามารถสร้างอินซูลิน
เบาหวานชนิดที่ 2
พบมากในผู้สูงอายุ เบาต้าเซลล์เสื่อมหน้าที่(ยาฉีดแทน)
ปัจจัยชักนำ
ดื้อต่ออินซูลินและลดลงเนื่องจากอายุมาก
อาการและอาการแสดง
กินจุ ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก น้ำหนักลด
โรคหลอดเลือดแดงขนาดเล็กเป็นที่ไตโปรตีนรั่วออกมากับปัสสาวะ, HT, Hyperuricemia
เกณฑ์วินิจฉัยเบาหวาน
ตรวจซ้ำทุกวิธี
มีระดับน้ำตาลในพลาสมาจากหลอดเลือดดำ(CPG) ตั้งแต่ 200 มก/ดล
มีน้ำตาลในเลือดหลัง NPO (FPG) ตั้งแต่ 126 มก/ดล
น้ำตาลในเลือดที่ 2 ชมหลังทดสอบความทนกลูโคส(OGTT) ตั้งแต่ 200 มก%
ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน
น้ำตาลในเลือดต่ำ(<60) ใจสั่น เหงื่อออก,น้ำตาลในเลือดสูง ซึม,CVD,ไตวาย,ถูกตัดขา
การควบคุมเบาหวาน
การบริโภคอาหารที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การทานยา ลดน้ำหนัก
การพยาบาล
ควบคุมพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย ทำตามโภชบำบัด ดูแลเท้าอย่างดี
แนะนำการทานยาอย่างถูกต้อง แนะนำการเก็บอินซูลินเก็บอุณหภูมิห้องได้ 1 เดือน สังเกตอาการน้ำตาลต่ำ
แนะนำออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และยืดหยุ่นร่างกายหลีกเลี่ยงออกกำลังกายที่ออกฤทธิ์อินซูลินสูงสุด
ภาวะท้องผูก(Constipation)
อุจจาระแข็งและแห้งผิดปกติ เบ่งนานหรือไม่หมด การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
ลักษณะการขับถ่าย
ถ่ายลำบากหรือเจ็บปวดขณะขับถ่าย, การไหลอุจจาระในลำไส้อย่างช้าๆ
สาเหตุท้องผูก
Primary เกิดขึ้นเองไม่มีโรคอื่นเช่น กินอาหารที่มีกากน้อย,Secodaryเนื้องอกของลำไส้ผิกปกติทางจิต
ประเมินอาการท้องผูก
การซักประวัติ
แบบแผนการขับถ่าย ลักษณะ ความปวด ยาที่ใช้
การตรวจร่างกาย
ฟังเสียงลำไส้บีบตัว
การพยาบาล
แนะนำการรับประทานอาหารอย่างเพียงพอ ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว
หลีกเลี่ยงการดื่มที่มีคาเฟอีน เคี้ยวอาหารให้ละเอียด ออกกำลังกาย
ฝึกการขับถ่าย ใช้ยาเหน็บไม่กลั้นอุจจาระ
ต่อมลูกหมากโต
เบียดเนื้อเยื่อเดิมให้บางออกจนเหมือนเปลือกหุ้มหรือเป็นแคปซูล
เหมือนผลส้ม
ปัสสาวะลำบาก ไหลไม่สะดวกฉี่บ่อย
อาการ
ปัสสาวะต้องเบ่ง ไม่พุ่งเป็นลำเล็กๆ ติดเชื้อได้ง่าย
ไตเสื่อม
นิ่ว
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
สอบถามการปัสสาวะ ลักษณะ
ไม่แนะนำให้ทานยาลดน้ำมูก
การตรวจร่างกาย
ปอาจติดเชื้อของไตเคาะบริเวณบั้นเอวแล้วเจ็บ ตรวจทวารหนัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจPSA ถ้า > 4 อาจเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก ตรวจท่อปัสสาวะตีบตัน การไหล
การรักษา
ใช้ยา
ลดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ(ระวังความดันต่ำ) ยาลดขนาดต่อมลูกหมาก Finasteride(proscar) ต้องทานยาตลอดแต่ลด libido
การผ่าตัด
Tranurethral resection of the prostate (TURP) ใส่เครื่องมือเข้าท่อปัสสาวะ ไม่มีแผลให้เห็น ตัดภายในเอาน้ำเกลือล้าง,TUIP ต่อมลูกหมากไม่โตมาก,Open ผ่าตัดทางหน้าท้องแล้วเอาต่อมลูกหมากออก กรณีต่อมลูกหมากโตมาก
การพยาบาล
สังเกตอาการผิดปกติ แนะนำการทานยา การเตรียมตัวผ่าตัด และการพยาบาลหลังผ่าตัดดูสีปัสสาวะ ตึงขา สวนล้างกระเพาะปัสสาวะต่อเนื่อง(CBI)
งดมีเพศสัมพันธ์อย่างน้อย 1-2 เดือนหลังผ่าตัด ออกกำลังกายเบาๆ สังเกตสีปัสสาวะ การได้รับยาระบายทานที่บ้าน ดื่มน้ำมากๆ
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่(Urinary Incontinence)
ปัสสาวะราดไม่สามารถควบคุมได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
ระคายเคืองผิวหนัง เกิดบาดแผล พักผ่อนไม่เพียงพอ
ด้านจิตใจ
คุณค่าตัวเองลดลง แยกตัวจากสังคม
องค์ประกอบด้านร่างกายที่เกี่ยวข้อง
กระเพาะปัสสาวะความจุลดลง ยืดมากเกินไป ไหลออกมาเอง
การปิดไม่สนิทของหูรูด หรือไม่แข็งแรงเกิดแรงดันในช่องท้องกะทันหัน
กลไกการควบคุม
สมอง ก้านสมอง ไขสันหลังประสาทอัตโนมัติ เส้นประสาทส่วนปลาย
ชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบชั่วคราว
หลัก DIAPPERS การทานยา การทานยา enalapril ยาลดความดันเกิดความในช่องท้อง ปัสสาวะเล็ด
กลั้นปัสสาวะไม่ได้แบบเรื้อรัง
Functional incontinence
เดินไปปัสสาวะไม่สะดวก ปวดเข่า สมองเสื่อม ซึมเศร้า
Stress incontinence
หูรูดปิดไม่สนิท แรงดันในท้องเพิ่มเช่น ไอ จาม หรือได้รับยา enalapril
Urge incontinence
ปัสสาวะเล็ดร่วมกับความรู้สึกปวดถ่ายรุนแรง ไปห้องน้ำไม่ทัน ปวดปัสสาวะแม้ยังไม่เต็ม การติดเชื้อ
Overflow incontinence
กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย เต็มและล้นออกมา การบีบตัวน้อย หรือไม่บีบ
การประเมินภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระ
ความจุกระเพาะปัสสาวะลดลง อัตราการไหลเปลี่ยนไป
โรคที่เกิดขึ้นมาก่อน
เบาหวาน ความดัน ข้ออักเสบ ยิ่งโรคเยอะยิ่งเสี่ยง
ยาที่รับประทาน
เช่น enalapril ยาลดความดัน
การทำ Voiding diary
จดบันทึกน้ำดื่มและเครื่องดื่มทุกชนิดแยกกลางวันกลางคืน บีบตัว 200-250 ขึ้นไปแต่ถ้าบีบก่อนอาจมีปัญหา
การตรวจร่างกาย
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ตรวจหน้าท้อง ตรวจระบบประสาท
ผู้หญิงตรวจภายในดูช่องคลอดว่าซีดหรือไม่ ความเเข็งแรงของอุ้งเชิงกราน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Post void residual >100 ผิดปกติ ดูการติดเชื้อ การทำ Uroflowmetry เป็นการวัดการไหลของปัสสาวะ
Cystometry วัดหน้าที่ของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ, Cystourethroscopy ส่องกล้อง
การรักษา
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ
ยืดเวลาในการขับถ่ายปัสสาวะ, การฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน(การขมิบก้น ซิทอัพ), การใช้อุปกรณ์ช่วยในการบริหารช่องคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดแผลและติดเชื้อที่อวัยสืบพันธ์และผิวหนังเนื่องจากชื้นแฉะจากปัสสาวะ
การพยาบาล
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ หารบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม