Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Plant tissue, เมื่อแบ่งเซลล์จะทำให้ลำต้นยืดยาวออกไป ช่วยเพิ่มความยาว…
Plant tissue
Pemanent tissue
Simple permanent tiss
Epidermis
เป็นเนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว อยู่ชั้นนอกสุดของส่วนต่าง ๆ ของพืชในระยะการเจริญขั้นแรก (primary growth) มีกำเนิดมาจากชั้น protoderm มักเรียกกันว่า เนื้อเยื่อผิว เป็นส่วนที่สัมผัสกับภายนอกปกคลุมส่วนต่าง ๆ ของพืชทั้งราก ลำต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด ยกเว้นบริเวณปลายยอด ปลายราก เพราะมีจุดกำเนิดต่างจาก epidermis ของส่วนอื่น ๆ เมื่อมีการเจริญขั้นที่สอง (secondary growth) เนื้อเยื่อ epidermis จะสลายไป เพราะมีชั้นของ cork ที่เกิดขึ้นใต้ epidermis เจริญดันออกมา
epidermis มีหน้าที่หลายประการ เช่น ช่วยป้องกันอันตราย เกี่ยวกับการคายน้ำแลกเปลี่ยนแก๊ส สะสมน้ำและสารที่ได้จากเมตาโบลิซึม เกี่ยวกับการสังเคราะห์แสง การขับของเสียหรือสร้างเซลล์ใหม่ปกคลุมเมื่อมีบาดแผล
Collenchyma
เป็นเนื้อเยื่อที่มีกลุ่มเซลล์คล้ายพาเรงไคมา แต่มีผนังเซลล์ค่อนข้างจะหนาไม่เท่ากัน ส่วนที่หนามักจะอยู่ตามมุมเซลล์ พบมากตามก้านใบ เส้นกลางใบ และในชั้ใน cortex ของลำต้นพวกไม้ล้มลุก
collenchyma มีหน้าที่ ช่วยทำให้ส่วนต่างๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้ และยังช่วยป้องกันแรงเสียดทานอีกด้วย
Parenchyma
เป็นเนื้อเยื่อที่พบทั่วๆไปในพืชเซลล์มีรูปร่างหลายแบบ เช่น ค่อยข้างวงกลม รี หรือทรงกระบอก เมื่อเรียงตัวติดกันทำให้เกิด ช่องว่างระหว่างเซลล์(intercellular space) ผนังเซลล์บาง แวคิวโอลใหญ่ เกือบเต็มเซลล์ และเซลล์ของเนื้อเยื่อชนิดนี้บางชนิดจะมีคลอโรพลาสต์อยู่ด้วยเรียกparenchymaชนิดนี้ว่าchlorenchyma
parenchyma มีหน้าที่ เก็บสะสมอาหาร สามารถสังเคราะห์แสงได้ บางส่วนในการหายใน บางส่วนช่วยในการลำเลียงสาร สามารถแปรสภาพเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้เมื่อถูกกระตุ้นเช่น เมื่อเกิดบาดแผลจะทำการแบ่งเซลล์เพื่อสมานบาดแผล
-
Cork or Phellem
เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของลำต้นและรากของพืชที่มีเนื้อไม้ที่มีอายุมากๆ รูปร่างของเซลล์ทางหน้าตัดจะมีรูปร่าง
เป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งเบียดกันแน่น เซลล์ของ cork เกิดขึ้นได้ไม่นานก็จะตาย แต่ก่อนที่จะตายโปรโตพลาสซึมจะสร้าง suberin
มาพอกบนผนังเซลล์ suberin เป็นสารขี้ผึ้งสีน้ำตาล ดังนั้น เปลือกไม้ที่เราเห็นจึงเป็นสีน้ำตาล เนื่องจาก suberin เป็นสารขี้ผึ้ง
จึงมีหน้าที่ป้องกันการระเหยของน้ำจากภายในพืช
-
Complex permanent tissue
Xylem
เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆจากรากขึ้นสู่ส่วนต่างๆของพืช การลำเลียง
แบบนี้เรียก conduction
Tracheid
เป็นเซลล์รูปร่างยาวๆปลายทั้งสองข้างแหลม ที่ผนังเซลล์มีการสะสมลิกนินหนาไม่สม่ำเสมอ เมื่อเจริญ เติบโตเต็มที่เซลล์จะตายโพรโตพลาสซึมจะสลายตัว ทำให้เกิดเป็นช่องตรงกลางเซลล์เรียก lumen เทรคีตนอกจากจะทำหน้าที่ในการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ
tracheid มีหน้าที่ ค้ำจุนส่วนต่างๆของพืชอีกด้วย พบมากในพืชที่มีท่อลำเลียงชั้นต่ำ เช่น หวายทะนอย ช้องนางคลี่ หญ้าถอดปล้อง เฟิร์น สน และปรง ส่วนในพืชมีดอกก็พบบ้าง
Vessel
เป็นเซลล์ที่คล้ายเทรคีต คือ มีชีวิตเมื่อยังอายุน้อยและเมื่อเติบโตเต็มที่ก็ตาย โพรโตพลาสซึมที่อยู่ตรง กลางเซลล์จะสลายไป จึงมีช่องว่างตรงกลางเซลล์ใหญ่ผนังเซลล์มีลิกนินมาพอก เซลล์ของ vessel มีรูปร่างยาวแต่สั้นกว่า tracheid และมีหลายเซลล์มาต่อกันจนมีลัษณะคล้ายท่อน้ำ ผนังปลายสุดมีช่องเปิดทะลุถึงกันเรียก performation เป็นทางลำเลียงน้ำและแร่
vessel มีหน้าที่เฉพาะในการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุเท่านั้น พบทั่งไปในพืชมีดอก ยกเว้น ยี่หุบ แคกตัส กาฝาก และพันธุ์ไม้น้ำบางชนิด
Xylem parenchyma
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีลักษณะและรูปร่างคล้าย parenhyma ทั่วๆไป เมื่ออายุ มากขึ้นผนังเซลล์จะหนาเนื่องจากมี
ลิกนินมาสะสม
-
-
Phloem
เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เป็นท่อลำเลียงอาหารพวกอินทรีย์สาร ซึ่งได้มาจากกระบวนการสังเคราะห์แสงในใบ และส่วนของพืชที่มีคลอโรฟิลล์ไปส่วนต่างๆของพืช การลำเลียงอาหารของพืชแบบนี้เรียก translocation phloem ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์4ชนิด
Sieve tube member
เป็นเซลล์เดี่ยวๆรูปทรงกระบอกยาว ปลายเสี้ยม เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจะไม่มีนิวเคลียสแต่ เซลล์ยังคงมีชีวิตอยู่ ปลายเซลล์ทั้ง 2 ข้างบางและมักจะเอียงมีรูพรุนเรียก seive plate ซึ่งทำให้ไซโทพลาสซึมภายในติดต่อกันได้ เซลล์แต่ละเซลล์จะมาเรียงต่อกันเป็นท่อยาว
-
Companiancell
อยู่ติดกับ seive tube cell เสมอ เป็นเซลล์ที่มีความยาวเท่าๆกับ seive tube cell แต่ มีขนาดเล็กกว่า เมื่อเจริญเต็มที่แล้วยังคงมีนิวเคลียสอยู่ ผนังเซลล์ของ companion cell และ seive tube ที่ติดกันนี้จะมีรูเล็กๆ มากทำให้เซลล์ทั้ง 2 ชนิดติดต่อกันได้ คอมพาเนียนเซลล์
-
-
-
Meristem
แบ่งตามหน้าที่
Protoderm
เป็นส่วนของเนื้อเยื่อที่อยู่นอกสุด กลุ่มเซลล์เหล่านี้อยู่บริเวณที่เรียกว่าเซลล์ยืดตัวและขยายขนาดแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงต่อไปจนกระทั่งเป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เรียกว่า เอพิเดอร์มิส (Epidermis) เป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่นอกสุด
-
Procambium
เป็น Primary meristem ที่แบ่งตัว และเจริญมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโต เปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณชั้นในสุดที่เรียกว่า Vascular Tissue
-
Ground meristem
ได้จากการแบ่งตัว และเจริญเติบโตมาจาก Promeristem แล้วจะแบ่งตัวเจริญเติบโตเปลี่ยนแปลงต่อไป เป็นเนื้อเยื่อถาวรในบริเวณที่เรียกว่า Cortex ซึ่งอยู่ถัดจาก epidermis เข้าไปข้างใน และยังจะไปเป็น Pith และ Pith ray (ในลำต้น) อีกด้วย
Cortex ทำหน้าที่เป็นแหล่งสะสมอาหาร และขณะที่ยังอ่อนอยู่ก็ทำหน้าที่ เป็นแหล่งสร้างอาหารและป้องกันด้วย ส่วน Pith และ Pith ray ยังทำหน้าที่ลำเลียงน้ำเกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างอีกด้วย
แบ่งตามบริเวรที่พบ
Apical meristem
Apical shoot meristem
เป็นเนื้อเยื่อที่พบได้ที่บริเวณปลายยอด หรือปลายกิ่งของพืช เรียกว่า เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (Shoot apical meristem)
-
-
Lateral meristem
Vascular cambium
แทรกอยู่ระหว่าง ไซเลม และโฟลเอ็ม มีหน้าที่ สร้าง secondary xylem และ secondary pholem พบในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด
-
-
-
เมื่อแบ่งเซลล์จะทำให้ลำต้นยืดยาวออกไป ช่วยเพิ่มความยาว ความสูงของพืชจัดเป็นการเจริญเติบโตปฐมภูมิ primary growth เราสามารถพบได้ที่ ยอด ราก จะเรียกชื่อตามตำแหน่งที่พบนั้นๆคือ ที่รากจะเรียกว่าเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายราก apical root meristem พบที่ยอด เรียกว่า เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด apical shoot meristem
อยู่ในแนวขนานกับเส้นรอบวงมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนออกทางด้านข้าง เพื่อเพิ่มขนาดความกว้างหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของลำต้นและราก ทำให้ลำต้นและรากขยายขนาดใหญ่ขึ้น เป็นการเจริญเติบโตขั้นที่สอง secondary growth พบได้ในพืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด และพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย จันทน์ผา เป็นต้น เนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้เรียกอีกอย่างว่า แคมเบียม cambium แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ ถ้าพบอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำและเนื้อเยื่อท่อลำเลียงอาหารจะเรียกว่า วาสคิวลาร์แคมเบียม vascular cambium ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์ทำให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเพิ่มมากขึ้น vascular tissue และถ้าพบอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหรือเอพิสเดอร์มิสepidermis หรือพบถัดเข้าไป เรียกว่า คอร์กแคมเบียม cork cambium ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์ทำให้เกิดเนื้อเยื่อคอร์ก cork
เป็นเนื้อเยื่อเจริญทรงกระบอกที่พบอยู่บริเวณเหนือข้อของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว โดยเนื้อเยื่อเจริญบริเวณนี้จะทำให้ปล้องยืดยาวออกไป
เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายเป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ในการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ทำให้ส่วนปลายยอดและ ปลายรากของพืชมีการยืดยาว
เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissues) หมายถึงกลุ่มของเซลล์ที่มีความสามารถแบ่งตัวแบบ mitosis ให้เซลล์ใหม่อยู่ตลอดเวลา มักอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ มีลักษณะที่สำคัญและแตกต่างจากเนื้อเยื่อถาวร ลักษณะของเนื้อเยื่อเจริญ
เป็นเนื้อเยื่อซึ่งเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว ประกอบด้วนกลุ่มเซลล์ที่
เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ มีรูปร่างคงที่ ไม่มีการแบ่งตัวเพิ่มขึ้นอีก และมีหน้าที่เฉพาะอย่าง แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ