Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 การป้องกนัการติดเชื้อและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค - Coggle…
บทที่2 การป้องกนัการติดเชื้อและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (Isolation precautions)
วิธีการแพร่กระจายเช้ือ มี3 วิธีดงัน้ี
การแพร่กระจายเช้ือโดยการสัมผัส (Contact transmission)แบ่งออกเป็นสองวิธีคือ การสัมผัส
ทางตรง Direct contact transmissionการสัมผัสทางอ้อม Indirect contact transmission
การแพร่กระจายเช้ือโดยละอองฝอยน้า มูกน้า ลาย Droplet transmission
การแพร่กระจายเช้ือทางอากาศ(Airborne transmission)
การติดเชื้อทำให้เกิดสภาวะโรค วงจรการติดเชื้อมีดังนี้
เชื้อก่อโรค(Infection agent)
แหล่งของเชื้อโรค(Reservoir or source)
ทางออกของเชื้อจากแหล่งแพร่เชื้อโรค(Portal of exit)
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ(Mode of transmission)
วิถีทางที่เชื้อโรคเขา้สู่ร่างกาย(Portal of entry)
คนที่ไวต่อการรับเชื้อโรค(Susceptible host)
การแบ่งการป้องกันออกเป็น 2 ประเภท
Standard precautions
Transmission-based precautions
1.การล้างมือและการสวมถุงมือ (Handwashing and gloving)
สวมเครื่องมือป้องกันร่างกาย (Protective barriers)
การดูแลอุปกรณ์เครื่องมือ– เครื่องใช้ของผู้ป่วย (Patient care equipment)
การจัดการผ้าและการซัก (Linen and laundry)
การทำความสะอาดเตียงผู้ป่วยและสิ่งของเครื่องใช้ภายในห้องผู้ป่วยตลอดจนสิ่งแวดล้อมรอบๆ
ผู้ป่วย(Routine and terminal cleaning /Environmental control)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับประทานอาหาร (Eating utensils)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ (Transport of infected patient)
การจัดสถานที่ส าหรับผู้ป่วย (Patient placement)
การปฏิบัติเพื่อให้อุปกรณ์คงความปราศจากเชื้อ
สามารถกระทำโดยยึดหลักของ
เทคนิค ปราศจากเชื้อ ดังนี้
สิ่งที่ปราศจากเชื้อสัมผัสได้กับสิ่งที่ปราศจากเชื้อเท่าน้ัน อุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อจะยังคงสภาพ
ปราศจากเชื้อเมื่อวางลงบนบริเวณที่ปราศจากเชือ อุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อจะปนเปื้อนเชื้อโรคทันที
1.1 สัมผัสกับวัตถุที่สะอาด
1.2 สัมผัสกับวัตถุที่ปนเปื้อน
1.3 สัมผัสกับวัตถุที่ไม่แน่ใจว่าปราศจากเชื้อ
2.สิ่งที่ปราศจากเชื้อจะคงสภาพปราศจากเชื้อเมื่อถูกเก็บรักษาอย่างปราศจากเชื้อ อุปกรณ์ที่ทำให้ปราศจากเชื้อแล้วจะต้องเก็บไว้ในสถานที่สะอาด แห้ง ห่อของอยู่ในสภาพสมบูรณ์ยังไม่ถูกเปิดออก ไม่มีรอยฉีกขาด เป็นต้น
สิ่งที่ปราศจากเชื้อถ้าอยู่นอกสายตาหรือต่ำกว่าเอวให้ถือว่าไม่ปราศจากเชื้อสิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติ
ภายหลังจากเปิดห่อของปราศจากเชื้อแล้ว
3.1 ยืนหันหลังให้กับของปราศจากเชื้หรือบริเวณที่ปราศจากเชื้อ
3.2 เปิดห่อของปราศจากเชื้อโดยไม่มีผู้ดูแล
3.3ถือหรือวางของปราศจากเชื้อต่ำกว่าระดับเอวของตน
3.4 หยบิของปราศจากเชื้อที่สัมผัสบริเวณที่ไม่ปราศจากเชื้อมาใชต่อ
สิ่งที่ปราศจากเชื้อถ้าสัมผัสกับอากาศมากหรือนานเกินไปถือว่า ไม่ปราศจากเชื้อ จึงไม่ควรเปิดห่อ
ของปราศจากเชื้อไวก่อนเวลาใช้งานนานเกินไป
ระยะ 1 นิ้ว จากขอบหรือริมพื้นที่ปราศจากเชื้อถือว่าไม่ปราศจากเชื้อ เมื่อเปิดห่อของปราศจาก
เชื้อแล้วให้ถือว่าขอบผ้าขอบภาชนะ หรือขอบของปราศจากเชื้อในระยะ 1 นิ้วไม่ปราศจากเชื้อ ดังนั้นจึงไม่
ควรจัดวางอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อไวชิดริมขอบผ้า
หากไม่แน่ใจว่าสิ่งที่ปราศจากเชื้อยังคงความปราศจากเชื้อหรือไม่ให้ถือว่าสิ่งของน้ัน ไม่
ปราศจากเชื้อการปฏิบัติการเทคนิคปราศจากเชื้อ
แนวทางมาตรฐานในการปฏิบัติการควบคุมและการแพร่การกระจายเชื้อโรค (standard precautions)
สวมถุงมือสะอาดเมื่อต้องสัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ เช่น หนอง เสมหะ น้าลาย เยื่อเมือก สารน้ำในร่างกาย
2.ล้างมือหรือผิวหนังทันทีที่สัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ เช่น หนอง เสมหะ น้ำลาย เยื่อเมือก สารน้ำในร่างกาย
สวมผ้าปิดปากและจมูก อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตาเมื่อต้องปฏิบัติการพยาบาลที่อาจมีเลือด สิ่งคัดหลั่งต่าง ๆ หรือสารน้ำ ในร่างกาย กระเด็นสัมผัสบริเวณใบหน้า และดวงตา
สวมเสื้อคลุมเมื่อต้องปฏิบัติการพยาบาลที่อาจมีเลือด สิ่งคัดหลั่ง ต่าง ๆ หรือสารน้ำในร่างกายกระเด็นสัมผัสเสื้อผ้า
ถอดถุงมือ ผ้าปิดปากและจมูก อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตาและเสื้อคลุมทันทีที่เลิกใช้
อุปกรณ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ให้ส่งทำความสะอาดและ
ทำลายเชื้อก่อนนำกลับมาใช้อีกคร้ัง
7.อุปกรณ์ชนิดใช้คร้ังเดียวเมื่อใช้เสร็จแล้วให้ทิ้งห้ามนำกลับมาใช้ซ้ำ
หยิบจับเครื่องใช้ที่เป็นผ้าที่ใช้แล้วให้เก็บผ้าด้านที่เปรอะเปื้อนให้อยู่ด้านในเสมอ
ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากของมีคม
10.ผู้ป่วยติดเชื้อให้อยู่ห้องแยก หรือปรึกษาแพทย์พยาบาลที่เชี่ยวชาญด้านการติดเช้ือเพื่อการดูแลที่เหมาะสม