Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึก การพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบใ…
หน่วยที่ 6
การประเมินภาวะสุขภาพและการบันทึก
การพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
การค้นหาปัญหา การหาแหล่งประโยชน์
ทราบปัญหาความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงอายุ
บำบัดรักษา เพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่
จัดสถานที่ สิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม
เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง
ลดการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
กระบวนการประเมินผู้สูงอายุ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม นั่งตรงข้ามผู้สูงอายุในระดับสายตา
พูดชัดเจน เสียงพอดี ฟังอย่างตั้งใจ พยายามทวนและสะท้อนกลับ
ไม่ใช้อคติ
ไม่เกิน 30 นาที
มิติในการประเมิน
ร่างกาย จิตใจ
รู้คิด สติปัญญา
สังคม สิ่งแวดล้อม
ระบบการสนับสนุนทางสังคม
หน้าที่ทางร่างกายของผู้สูงอายุ
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไปของผู้สูงอายุ
การประเมินท่าเดิน(time up and go test) 3 เมตร
(วินาที) <10 ปกติ
10-19 เสี่ยงต่ออุบัติเหตุน้อยถึงปานกลาง
10-20 ภาวะพึ่งพาปานกลาง เสี่ยงต่ออุบัติเหตุปานกลางถึงสูง
29 เสี่ยงหกล้ม พึ่งพาสูง
Berg Balance Test (56คะแนน)
45-56 ปกติ
<45 มีความผิดปกติในการทรงตัว เสี่ยงต่อการหกล้มสูง
การประเมินภาวะโภชนาการ(Mini Nutritional Assessment:MNA)
อายุ 60 ปีขึ้นไป
12-14 ภาวะโภชนาการปกติ
8-11 เสี่ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร
0-7 ขาดสารอาหาร
การประเมินความบกพร่องของการมองเห็น(Snellen chart)
การประเมินความบกพร่องของการได้ยิน
การสังเกตการพูดคุย
Whisper-coice test (เสียงกระซิบ)
ผู้สูงอายุนั่งบนเก้าอี้ พยาบาลอยู่ข้างหลังห่าง 0.5เมตร พูดแล้วให้ทวนตาม ถ้าบอก 6 คำได้ 3 ถือว่าผ่าน
การประเมินความบกพร่องของการนอนหลับ
สอบถามการนอนไม่หลับ/นอนมากเกินไป นอนกรน นอนละเมอ
การประเมินภาวะสุขภาพ
Barden Scale (ประเมินผลกดทับ)
Malnutrition,ผิวหนังเปราะบาง,เกิดแผลได้ง่าย,การรับความรู้สึก,ความชื้นของผิวหนัง
เสี่ยงรุนแรง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 9
เสี่ยงสูง 10-12
เสี่ยงปานกลาง 13-14
เสี่ยงเล๋กน้อย 15-18
Functional Assessment
Basic Activities of Daily Living:BADL/Barthel ADL Index
ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน
20 คะแนน
12 ขึ้นไป พึ่งตนเองได้
5-11 ดูแลตนเอง,ช่วยตนเองได้บ้าง
0-4 พึ่งตนเองไม่ได้ พิการหรือทุพพลภาพ
Instrumental Activities of Daily Living :IADL
การทำกิจวัตรประจำวันต่อเนื่อง ดัชนีเอดีแอลจุฬา
การใช้อุปกรณ์ช่วยในการทำ ADL
Advance Activities of Daily Living :AADL
อีกมิติด้านสังคม กิจกรรม เวลาว่าง
Mental and Cognitive Assessment
3 words recall แล้วถามซ้ำอีก
Chula MentalTest:CMT
แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย(MMSE-Thai 2002)
สูงกว่าประถม
น้อยกว่า 22/30 เสี่ยง
ประถม
น้อยกว่า 17/30 เสี่ยง
คนที่อ่านหนังสือไม่ออกไม่ทำข้อ 4,9,10
น้อยกว่า 14/23 เสี่ยง
การประเมินภาวะซึมเศร้า
ประเมินด้วย 2Q
ไม่มีทั้ง 2ข้อ
ปกติ
มี 1 ข้อหรือ 2 ข้อ
ทำ 9Q
ทำ 9Q 27 คะแนน
<7 ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า
7-12 ซึมเศร้าเล็กน้อย
13-18 ซึมเศร้าปานกลาง
19 ซึมเศร้ารุนแรง
ทำ
8Q ต่อ
Thai Geriatric Depression Scale: TGDS ผู้สูงอายุเท่านั้นยังไม่มีอาการทางร่างกาย อ่านออกเขียนได้
30 ข้อ
0-12 ปกติ
13-18 เศร้าเล็กน้อย
19-24 ปานกลาง
24 รุนแรง
Social Functional Assessment
ลักษณะครอบครัว
สัมพันธภาพในครอบครัว
พฤติกรรมความเชื่อด้านสุขภาพ
ภาวะเศรษฐกิจของผู้สูงอายุและครอบครัว
เครือข่ายสนับสนุนทางสังคม social support
แหล่งประโยชน์และระบบบริการที่ผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าถึง
การประเมินสิ่งแวดล้อม
ความเพียงพอของแสงสว่าง
วามเมหาะสมของบันไดและทางเดิน
การจัดวางเฟอร์นิเจอร์
ลักษณะพื้นบ้านและห้องน้ำ อุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น ราวจับ
ความปลอดภัยของบ้านและสิ่งแวดล้อม
ความเหมาะสมของสิ่งแวดล้อม
การประเมินเกี่ยวกับผู้ดูแล ภาวะ
burden(ภาระของผู้ดูแล)
Primary/Secondary care giver
การบันทึกการพยาบาลตามปัญหาสำคัญที่พบในผู้สูงอายุ
แบบบันทึกวิถีโคจรความเจ็บป่วย(Aging Illness Trajectory:AIT)
ก่อนเข้ารับการรักษา
ขณะอยู่ในโรงพยาบาล
แบบบันทึกการประเมินทางการพยาบาลผู้สูงอายุ(Geriatric Nursing Assessmet:GNA
Giants Geriatric Problem
Falls (หกล้ม)
Incontinence (กลั้นปัสสาวะไม่ได้)
Iatrogenic disorders (อ่อนล้า) เช่นรู้สึกเหนื่อยในการกินยา
Confusion (สับสน)
Impaired homeostasis (ความสุ่มเสี่ยงต่อการหกล้ม bedsore การฟื้นหายของผู้ป่วย) malnutrition