Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ - Coggle Diagram
บทที่ 3 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
3.3 ศีรษะ ใบหน้า คอ และต่อมนำ้เหลือง
ศรีษะการตรวจศีรษะ ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
ภาวะปกติ คลำไม่พบก้อนผิดปกติ ไม่พบต่อมนำ้เหลือง
ภาวะผิดปกติ คล าพบก้อนผิดปกติ ซึ่งต้องระบุลักษณะก้อนที่พบ พร้อมบอกต าแหน่งที่พบด้วย คล าพบต่อมน้ าเหลืองที่ท้ายทอยโต
ต่อมน้ำเหลือง การตรวจต่อมน้ำเหลือง (lymphnode) ใช้เทคนิคการดูและ การคลำ
ภาวะผิดปกติ พบก้อน นูน โต ซึ่งยืนยันโดยการคลำ
ภาวะปกติ ไม่พบก้อน
คอการตรวจคอ ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
ภาวะปกติ สามารถเคลื่อนไหวได้ตามที่ให้ท า และเห็น พื้นที่หรือขอบเขตของคอ
ภาวะผิดปกติ คอเอียง คอแข็ง ไม่สามารถก้มคอ เอียงคอ หมุนคอ แหงนหน้า ยืดคอได้ หรือท าได้แต่ ไม่สุด หรือมีอาการเจ็บปวดขณะทำ
ใบหน้าการตรวจใบหน้า ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
ภาวะปกติ ใบหน้าทั้ง 2 ซีกสมมาตรกัน ไม่บิดเบี้ยว ไม่มีการเคลื่อนไหว ผิดปกติ ขนคิ้วขนตากระจายปกติ สม่ าเสมอ ใบหน้าไม่บวม ไม่มีรอยโรค
ภาวะผิดปกติ หน้าบิดเบี้ยว ไม่สมมาตร มีการกระตุก เคลื่อนไหวผิดปกติ บนใบหน้า ใบหน้าบวม มีรอยโรค หลับตาไม่ได้ รอยย่นหน้าผากไม่ สมมาตรกัน
3.2 ลักษณะทั่วไป ผิวหนัง ผม ขน เล็บ
การตรวจผิวหนัง
การตรวจผิวหนัง (Skin)
ใช้เทคนิค การดูและการคลำ สีผิว (skin color) ลักษณะผิว (skin texture) ความตึงตัว (skin turgor) อุณหภูมิของผิวหนัง (temperature) ความชุ่มชื้น (moisture) เม็ดผื่นหรือตุ่ม (skin lesion) จุดเลือดออก การบวม (edema)
การตรวจผมขน
การตรวจผม ใช้เทคนิคการดู คล า และดมกลิ่น ภาวะปกติ สีผมจะเป็นธรรมชาติของเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ ปริมาณผม มากในวัยรุ่น ผมควรนุ่ม ไม่หยาบและหักง่าย หนังศีรษะควรสะอาด
ภาวะผิดปกติ ผมเปลี่ยนสีไป (โดยไม่ย้อม) ผมร่วงมาก ผมหยาบ เปราะ แตกง่าย ผมสกปรก มีรังแค เหา มีกลิ่น มีบาดแผลและตุ่ม
การตรวจเล็บ
การตรวจเล็บใช้การดูและคล า มีจุดมุ่งหมาย ดูสี รูปร่าง ลักษณะ เล็บ และค้นหาความผิดปกติ
ภาวะผิดปกติ เล็บไม่เรียบ นูนบางไม่เท่ากัน หรือมีลักษณะ ดังนี้ เล็บรูปช้อน (spooning finger) นิ้วปุ้ม (clubbing finger) เนื้อเยื่อโคนเล็บจะนุ่มและหยุ่นมาก
ภาวะปกติ โคนเล็บจะนุ่มหยุ่นเล็กน้อย มุมระหว่างฐานเล็บ (nail base) กับผิวหนังโคนเล็บ ประมาณ 160 เล็บเป็นสีชมพู ผิวเล็บ เรียบแนบสนิทกับเนื้อเยื่อด้านล่าง
3.1 การตรวจร่างกาย
3.1.1 เทคนิคการตรวจร่างกาย
การเคาะ (Percussion)
การฟัง (Auscultation)
1) การฟังโดยตรง (Direct Auscultation)
2) การฟังโดยใช้เครื่องมือ (Indirect Auscultation)
การคลำ (Palpation)
1) การคลำมือเดียว
2) การคลำสองมือ
การดู (Inspection)
3.1.2 เครื่องมือในการตรวจร่างกาย 3
เครื่องชั่งนำ้หนัก ที่วัดส่วนสูงปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย (Thermometer) เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง (Stethoscope) นาฬิกา เทปวัดขนาดหรือ ความยาว ไฟฉาย
ไม้กดลิ้น เข็มปลายทู่หรือปลายแหลม สำลีแผ่นทดสอบสายตา (Snellen’s Chard) ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย .ถุงมือสะอาดและสิ่งหล่อลื่นเครื่องส่องดูลูกตา (Ophthalmoscope) ส้อมเสียง เครื่องส่องดูภายในรูหู (Otoscope) ไม้เคาะเข่าชามรูปไต หรือถุงพลาสติก เครื่องถ่างรูจมูก (Nasal Speculum)
3.5 การตรวจเต้านม และรักแร้
การตรวจเต้านม (Breast) ใช้เทคนิค การดู การคลำภาวะปกติ เต้านมทั้ง 2 ข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก สีผิวอ่อนกว่า ผิวกาย ไม่มีก้อน ไม่พบหลอดเลือดที่ผิดปกติ หัวนมสีชมพูหรือ น้ าตาลเข้ม ไม่มีสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติไหลออกมา
ภาวะผิดปกติ เต้านมขนาดใหญ่มากกว่าปกติหรือไม่เท่ากัน แตกต่างกันมาก ผิวหนังเป็นสีแดง มีลักษณะเหมือนผิวส้ม มีการ อักเสบ เห็นหลอดเลือดขยายชัดเจน บวม หัวนมถูกดึงรั้งไปด้าน ใดด้านหนึ่ง มีตุ่ม มีแผล มีก้อน หัวนมมีสิ่ง
การตรวจรักแร้
การตรวจรักแร้
ใช้เทคนิค การดู การคลำ 1. การดู สังเกตสีผิวและก้อนบริเวณรักแร้
การคลำ
ภาวะปกติ
ไม่พบก้อน คล าไม่พบต่อมน้ าเหลือง
ภาวะผิดปกติ
พบก้อน หรือต่อมน้ าเหลืองใหญ่กว่าปกติ
3.4 ตา หู จมูก ปาก
ตา
ตรวจความสามารถในการมองเห็น
ตรวจลานตา
ตรวจเคลื่อนไหวของลูกตา
ตรวจต้าแหน่งตา ลูกตา และบริเวณรอบตา
ตรวจรูม่านตา
ตรวจความใสของของกระจกตา
ตรวจตาขาวและเยื่อบุลูกตา
หูการตรวจหู ใช้เทคนิค การดู การคลำ
ภาวะปกติ ใบหูทั้ง 2 ข้างอยู่ระดับกับตา และเอียง 10ในแนวตั้ง ในรูหูพบขี้หู เยื่อ บุปกติ ไม่มีสิ่งผิดปกติ และเห็นเยื่อแก้วหู เป็นแผ่นสีเทามีแสงสะท้อนเป็นรูปกรวย ของเยื่อแก้วหู
ภาวะผิดปกติ ใบหูสูงหรือต่ ากว่าระดับมุม ตา พบในผู้ป่วยสมอง ใบหูเล็กเกินอาจมี ผลต่อการได้ยิน เยื่อบุในรูหูบวมแดง มีสิ่ง ผิดปกติหรือขี้หู เยื่อแก้วหูมีสีชมพูอมแดง หรือเหลืองขุ่น หรือสีขาวไม่สะท้อนแสง
การจมูกและโพรงอากาศ ใช้เทคนิค การดู การคลำและทดสอบ การได้กลิ่น
ภาวะปกติ ปีกจมูกและจมูกมีขนาดเหมาะสมเท่ากัน ไม่หุบบานมาก ขณะหายใจ ไม่มีการอักเสบ เยื่อบุจมูกสีชมพู ไม่บวมแดง มีสิ่งคัดหลั่ง เล็กน้อย สีใส ผนังกั้นจมูกตรง จะไม่เห็น turbinate ชัดเจน
ภาวะผิดปกติ ปีกจมูกทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน มีบวมแดง หุบบานไม่ เท่ากันขณะหายใจ เยื่อบุจมูกบวมแดง มีสิ่งคัดหลั่งสีเขียว หรือมี เลือดออก ผนังกั้นจมูกเอียงหรือคด มองเห็น turbinate ชัดเจน
การตรวจปากและช่องปาก ใช้เทคนิค การดู สังเกตริมฝีปาก สี ลักษณะ แผล หรือความผิดปกติ
ภาวะปกติ ริมฝีปากสีชมพู ชุ่มชื้น ไม่มี แผล ตุ่ม บวม เยื่อบุช่องปาก เพดานปาก สีชมพู ไม่ซีด ไม่มีตุ่มเม็ดผื่น ไม่มีรอยช้ า ห้อเลือด หรือรอยแดง ลิ้นไม่เป็นฝ้า เหงือกสีชมพูขนาดปกติ คลุมคอฟันมิดชิด ไม่หนา และไม่มีการอักเสบ ลิ้นไก่อยู่ตรง กลางไม่เฉเอียง ทอนซิลอยู่ระหว่าง anterior และ posterior pillar ขนาดไม่โต เกิน pillar ผนังคอเป็นสีชมพู ไม่แดง ไม่มี ตุ่ม หรือสิ่งคัดหลั่งที่ผิดปกติ
ภาวะผิดปกติ ริมฝีปากคล้ า เขียวหรือซีดมาก บวมแดง มีแผล หรือตุ่ม เยื่อบุช่องปากซีดมีตุ่ม เหงือกซีดหรือบวมแดง ลิ้นแตก ลิ้นเลี่ยน เป็นฝ้า ลิ้นไก่เฉเอียง ทอนซิลโตเกิน pillar ออกมา แดง มีหนอง
การตรวจร่างกาย
oการตรวจร่างกาย เป็นการประเมินโครงสร้างและหน้าที่ หรือลักษณะทางกายภาพ และหน้าที่ของร่างกาย โดยใช้ เทคนิคการด ูคล า เคาะ ฟัง ในการตรวจร่างกาย พยาบาล ผู้ตรวจต้องมีความรู้ทางกายวิภาคศาสตร์ สรีรพยาธิวิทยา รู้พิสัยของสิ่งที่ปกติ (normal range)
การตรวจร่างกาย นอกจากจะใช้ตัวผู้ตรวจเป็นเครื่องมือ แล้ว ยังมีอุปกรณ์ในการตรวจร่างกายที่ต้องฝึกฝนทักษะ และต้องพัฒนาศิลปะในการตรวจเป็นของเฉพาะตนอีกด้วย oสิ่งส าคัญ คือ เทคนิคการตรวจร่างกาย เครื่องมือในการตรวจร่างกาย