Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.1 การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ, 119857059_1043170532784981…
บทที่ 3.1
การตรวจประเมินร่างกายทุกระบบ
การตรวจร่างกาย
1.เทคนิคการตรวจร่างกาย
การคลำ (Palpation)
การเคาะ (Percussion)
การดู (Inspection)
การฟัง (Auscultation)
2.เครื่องมือในการตรวจร่างกาย
หูฟัง (Stethoscope)
ที่วัดส่วนสูง
เครื่องวัดความดันโลหิต
เครื่องชั่งน้ำหนัก
นาฬิกา
เทปวัดขนาดหรือ ความยาว
ไฟฉาย
ปรอทวัดอุณหภูมิร่างกาย (Thermometer)
ไม้กดลิ้น
10.เข็มปลายทู่หรือปลายแหลม
สำลี
แผ่นทดสอบสายตา (Snellen’s Chard)
ผ้าคลุมตัวผู้ป่วย
14.ถุงมือสะอาดและสิ่งหล่อลื่น
15.เครื่องส่องดูลูกตา (Ophthalmoscope)
ส้อมเสียง
เครื่องส่องดูภายในรูหู (Otoscope)
ไม้เคาะเข่า
ชามรูปไต หรือถุงพลาสติก
เครื่องถ่างรูจมูก (Nasal Speculum)
ลักษณะทั่วไป
1.การตรวจผิวหนัง
ความตึงตัว (skin turgor)
อุณหภูมิของผิวหนัง (temperature)
ความชุ่มชื้น (moisture)
เม็ดผื่นหรือตุ่ม (skin lesion)
ลักษณะผิว (skin texture)
จุดเลือดออก
สีผิว (skin color)
การบวม (edema)
2.การตรวจผมและขน
เพื่อดูปริมาณ การกระจายของผมและขน
ภาวะปกติ หนังศีรษะควรสะอาด
ใช้เทคนิคการดู คลำ และดมกลิ่น
ภาวะผิดปกติ ผมเปลี่ยนสีไป (โดยไม่ย้อม) ผมร่วงมาก
3.การตรวจเล็บ
ภาวะปกติ โคนเล็บจะนุ่มหยุ่นเล็กน้อย มุมระหว่างฐานเล็บ (nailbase) กับผิวหนังโคนเล็บ ประมาณ 160 เล็บเป็นสีชมพู
ภาวะผิดปกติ เล็บรูปช้อน (spooning finger) มีลักษณะโค้งเว้าตรงกลาง
ใช้เทคนิคการดูและคลำ
ภาวะผิดปกติ นิ้วปุ้ม (clubbing finger) เนื้อเยื่อโคนเล็บจะนุ่มและหยุ่นมาก มุมระหว่างเล็บและโคนเล็บมากกว่า 160
ศีรษะ ใบหน้า คอ
และต่อมน้ำเหลือง
1.การตรวจศีรษะ
ภาวะปกติ ของการดู ศีรษะจะมีขนาดผันแปรไปตามขนาดร่างกายของบุคคล
ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
ภาวะปกติ ของการคลำ ต้องคลำไม่พบก้อนผิดปกติ ไม่พบต่อมน้ำเหลือง
ภาวะผิดปกติ ของการคลำ คือพบก้อนผิดปกติ และบอกตำแหน่งได้
4.การตรวจต่อมน้ำเหลือง
ใช้เทคนิคการดูและการคลำ
ภาวะปกติ ไม่พบก้อน
ภาวะผิดปกติ พบก้อน นูนโต ซึ่งยืนยันโดยการคลำ
2.การตรวจใบหน้า
ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
ภาวะปกติ ใบหน้าทั้ง 2 ซีกสมมาตรกัน ไม่บิดเบี้ยว
ลักษณะใบหน้าที่ผิดปกติที่พบบ่อยในคลินิก
Nephrotic syndrome : ใบหน้าบวมมาก
Cushing syndrome : ใบหน้าจะกลม เรียกว่า moon face
3.การตรวจคอ
ใช้เทคนิค การดูและการคลำ
การตรวจหลอดลมคอ (trachea)
การตรวจต่อมไทรอยด์ (thyroid gland)
ภาวะปกติ สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้
ภาวะผิดปกติ ไม่สามารถต้านแรงได้
การตรวจ ตา หู จมูก ปาก
3.การตรวจจมูกและโพรงจมูก
การตรวจการได้กลิ่น ให้ผู้ใช้บริการหลับตา เอาสบู่ให้ดม และให้บอกว่ากลิ่นอะไร
ใช้เทคนิค การดู การคลำ และทดสอบกลิ่น
4.การตรวจปากและช่องปาก
ภาวะปกติ ริมฝีปากสีชมพู ชุ่มชื้น ไม่มีแผล
ภาวะผิดปกติ ริมฝีปากคล้ำ เขียวหรือซีดมาก บวมแดง
ใช้เทคนิค การดู สังเกตริมฝีปาก
1.การตรวจตา
ตรวจลานตา (visual field)
ตรวจเคลื่อนไหวของลูกตา (extraocular movement)
ตรวจความสามารถในการมองเห็น (visual acuity)
2.การตรวจหู
การตรวจการได้ยิน
ดูขนาดระดับใบหู 2 ข้าง ลักษณะใบหู ใช้ไฟฉายส่อง
ใช้เทคนิค การดู การคลำ
การคลำ ใช้ปลายนิ้วคลำใบหู สอบถามอาการเจ็บในรูหู
การตรวจเต้านม และรักแร้
1.การตรวจเต้านม
ภาวะปกติ เต้านมทั้ง 2 ข้างไม่ควรแตกต่างกันมาก
ภาวะผิดปกติ บวมแดง กดเจ็บเต้านมหรือหัวนม คลำพบก้อน
ใช้เทคนิค การดู การคลำ
2.การตรวจรักแร้
ภาวะปกติ ไม่พบก้อน คลำไม่พบต่อมน้ำเหลือง
ภาวะผิดปกติ พบก้อน หรือต่อมน้ำเหลืองใหญ่กว่าปกติ
ใช้เทคนิค การดู การคลำ