Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
อัมพาตอ่อนเเรงไม่มากหรือ เป็นชั่วคราว อัมพฤกษ์
stroke
cerebrovascular disease
cerebrovascular accident
พบในผู้สูงอายุตั้งเเต่ 45 ปีขึ้นไป
ชนิดของโรคหลอดเลือดสมอง
แบ่งเป็น 2กลุ่ม
เกิดจากสมองขาดเลือด
ร้อยละ 75-80
มีเลือดออกในสมอง
ร้อยละ 20-25
โรคหลอดเลือดสมองในระยะเฉียบพลัน
Brain attack
Time is brain
อาการ
เเขนขาอ่อนเเรง
พูดไม่ชัด
หน้าเบี้ยว
ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิด
ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิตสูง
โรคหลอดเลือดหัวใจ
อายุ เพศ ชาติพันธ์ พันธุกรรม
การสูบบุหรี่
ไขมันในเลือดสูง
ปรับไม่ได้
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ระดับความรู้สึกตัว
คะเเนน 14-15 เสียการทำงานเล็กน้อย
คะเเนน 11-13 เสียการทำงานปานกลาง
คะเเนน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 เสียการทำงานรุนเเรง
ประเมินด้วย Cincinnati per hospital stroke scale
หน้าเบี้ยว เเขนขาอ่อนเเรง พูดไม่ชัด
อาการเเสดงที่ต้องรายงานหมอ
BP SBP > 185-220,DBP > 120-140 mmhg
พร่องออกซิเจน Sat< 95
GCS<10
DTX< 50 mg% or >400mg%
เจ็บหน้าอก ชัก เกร็ง กระตุก เหนื่อยหอบ
การตรวจวินิจฉัย
CBC,PT,PTT,INR,gulcose,EKG,BUN,Cr+,ABG,Lipid profife ;LDL,HDL,Cholesterol
CT Scan,MRI
การรักษา
ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล ไม่เกิน 3 ชม
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
การพยาบาลขณะให้ยาลิ่มเลือด
เปิดหลอดเลือดดำ 2เส้น เส้น 1ให้ 0.9%NSS ที่เหลือ lock.ให้ยา
ยาที่ผสมเก็บไว้ในตู้เย็นอุณหภูมิ 2-8 องศา
สังเกตอาการ ปวดหัว GCS ลดลง BP สูง คลื่อไส้อาเจียน ให้หยุดยสาสลายลิ่มเลือด เจาะ Lab เตรียมให้ FFP
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที 2 ชม ,30 นาที 6 ชม
การพยาบาลระยะฉุกเฉินเเละวิกฤต
เนื้อเยื่อสมองรับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากหลอดเลือดในสมองตีบหรืออุดตันเเตก
ระดับความรู้สึกจัวลดลง เนื้อจากเนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
พร่องความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากความรู้สึกตัวลดลง หรือแขนขาเคลื่อนไหวได้น้อย
ระยะฉุกเฉินและวิกฤต
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะพร้องออกซิเจนเเละการหายใจที่ผิดปกติ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็นเเละต้อง hyperventilate
ไม่ใช้เวลาดูดนาน
ไม่ควรให้Nifedipine อมใต้ลิ้นหรือทางปาก เพราะ ทำให้ความดัน โลหิตลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้สมองขาดเลื่อดไปเลี้ยงมากขึ้น
การพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันกระโหลกสูง
จัดท่านอนหัวสูง 30 องศา. หัว ลำคอ ตั้งตรง สะโพหไม่หักพับงกมากกว่า90
ห้ามจัดท่านอนคว่ำหรือหัวต่ำ
วัดสัญญาณชีพเเละอาการทางระบบประสาท
ดูเเลป้องกันไม่ให้เกิดเเรงดันในช่องอก เเละช่องท้องสูงขึ้น เพราะ ทำให้หลอดเลือดดำไหลกลับเข้าสู่หัวใจลดลง
ข้อเสื่อม
มีการเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อนผิวข้อ สึกบางลง ทำให้มีการเสียดสีของกระดูก เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว อาการปวด เเละมีเศษกระดูกลอยอยู่ในข้อ ทำให้ปวดมากขึ้นเคลื่อนไหว
ลำบาก
ลักษณะสำคัญของโรคข้อเสื่อม
มีการเสื่อมทำลายของดกล้ามเนื้อกระดูก แต่ไม่มีการอักเสบของข้อ
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับข้อที่เคลื่อนไหวได้
กระดูกอ่อนผิวข้อเสื่อมเป็นรอยถลอกกรอน
พบมากในผู้สูงอายุ
ปัจจัยชักนำ
อายุ
การใช้งานของข้อมากเกินไป
บาดเจ็บที่ข้อ
ขนดวิตามินดีเเละซี
กรรมพันธ์ุ
อาการเเสดง
เป็นมากสุด คือ ข้อที่รับน้ำหนักมาก
ปวดมากเมื่อใช้งานหรือลงน้ำหนักบนข้อนั้นทุเลาเมื่อพักใช้งาน
พบในช่วงเช้าเเละหลังพักใช้ข้อนั้นๆนานๆ
ขาโก่ง เข้าฉิ่ง เสียงดัง กรอบแกรบขณะเคลื่อนไหวข้อ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกสย ตรวจข้อเข่า. พบ ข้อบวม
ถาพถ่ายรังสี พบ ช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าเเคบลง
เจาะเลือด
ตรวจน้ำเลี้ยงเข่า.
การรักษา
รักษาไม่หาย
เป้าหมาย เพื่อบดบรรเทาอาการปวด ลดอักเสบ
แก้ไขหรือคงสภาพการทำงานขอข้อให้เป็นปกติ
ป้องกันเเละชะลอภาวะเเทรกซ้อน
ผ่าตัด. เวชศาสตร์ฟื้นฟู
ลดน้ำหนัก. บริหารข้อด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ
นั่งบนเก้าอี้ให้นั่งห้อยเท้า ผูกน้ำหนักที่ข้อเท้า ประมาณ 2-5กก ไว้ที่ขาทั้งสองข้าง. ห้ทำวันละะ 1-3ครั้ง
รักษาด้วยยา
ยาแก้ปวด paracetamol
ยาแก้อักเสบsteroid
NSAID
ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่steroid
ข้อวิจฉัยการพยาบาล
ปวดเรื้อรัง เนื่องจากมีการอักเสบของข้อ
การเคลื่อนไหวของรางกายบกพร่อง เนื่องจากปวดข้อ
ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลง เนื่องจากความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง
การพยาบาล
ประเมินความปวด
ประเมินปัจจัยที่มำให้เกิดอาการปวดเพิ่มขึ้น
ประเมินผลกระทบของความปวดต่อการทำกิจกวัตรประจำวัน
ประคบร้อนเพื่อลดอาการปวด
ออกกำลังกายเพื่อคงไว้ซึ่งพิสัยของข้อ เเละเพิ่มความแข็งแรงของข้อ
ไม่ควรใช้พรมปูพื้น พื่อป้องกันการสะดุดหกล้ม
กระดูกพรุน
ความหมาย
โรคที่ความหนาเเน่นของเนื้อกระดูกลดน้อยลงเรื่อยๆ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูก ซึ่งมีผลให้กระดูก ไม่สามารถรับน้ำหนักหรือเเรงกดได้ตามปกติ ทำให้กระดูกหัก
สาเหตุเเละปัจจัยเสี่ยง
เพศเเละอายุ
รูปร่างเล็กผอม
เนื้อกระดูกน้อย
เชื้อชาติ
เอเชียผิวขาว มีโอกาสมากกว่าผิวดำ
คนที่ในบ้านมีประวัติเกิดภาวะโรคกระดูกพรุน
โรคประจำตัว
เบาหวาน โรคไต ตับเเข็ง
การใช้ยาที่มีผลต่อการสลายเนื้อกระดูก
ขาดการออกกำลังกายกาย
อาหาร
รับประทาน แคลเซียมไม่เพียงพอ
ขาดวิตามินดี
อาการเเละอาการเเสดง
ปวดหลัง กระดูกสันหลังยุบ ปวดร้าวไปยังปลายเท้า
Dowager 's hump กระดูกสันหลังโค้ง เพราะมีการหักของกระดูกสันหลังซ้ำๆ
น้ำหนักลด
กาวินิจฉัย
ใช้ Dual ENergy X ray Absorptionnmetry DEXA
เป็นเครื่องมือที่วินิจฉัยโรคกระดูกพรุนที่เหมาะสม
การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, CA, K ,Albumin
การทำงานของตับไต
ฮอร์โมนไทรอยด์ม พาราไทรอยด์ วิตามิน ดี
ฮอร์โมนเพศ estradiol,testosterone
การรักษา
ป้องกันไม่ให้กระดูกหัก
ยาที่เลือกใช้ biphosphonate พเิ่มความหนาเเน่นกระดูก
ไม่ใช้ยา
การได้รับแคลเซียมเพียงพอ
วิตามินดี
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน. ออกกำลังกาย
ป้องกัน
ออกกำลังกายหรือมีกิจกรรม ที่มีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอ ให้มีการลงน้ำหนักของกระดูก อย่างนั่งๆนอนๆ จะทำให้มีการสลายของกระดูกมากขึ้น
การพยาบาล
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง ควรได้รับวันละ 1500มก
ประเมินเเละตืดตามอาการปวด
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ให้การดูเเลด้านอารมณ์ จิตใจ ให้ระบายความรู้สึก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วยอื่นที่มีปัญหาเหมือนกัน
เบาหวาน
ประเภทของเบาหวาน
ชนิด1
พบในเด็ก ร้อยละ 95-97
ตับอ่อนยังพอผลิตอินสุลินได้ ภาวะดื้อต่ออินสุลิน
รักษารักษาโดยการควบคุมอาหาร หรือเม็ดยาที่ลดระดับน้ำตาลในเลือด
ปัจจัยชักนำ
ปริมาณอินสุลินลดลงเนื่องจากภาวะดื้ออินสุลิน
โรคอ้วน
อาการเเสดง
กินจุ ปัสสวาะบ่อย ดื่มน้ำมากน้ำหนักลด
ระบบประสาททำงานบกพร่อง ชา เจ็บเเสบปวดร้อน
Obesity
HDL<45 mgldlfemale, <35 mg /dl men triglyceride level>159 mg/dl
Hypertension
Hyperuricemia
ชนิด2
ชนิด3
ภาวะเเทรกซ้อนเเบบเฉียบพลัน
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง สูญเสียน้ำ ขาดน้ำ
อาการ
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม
ภาวะเเทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็ก
Retinophathy
ภาวะเเทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่
Myocardial Infartion
hypertension. Stroke peripheral vascular disease
การถูกตัดขา
เส้นประสาทส่วนกลายเสื่อม ทำให้ไม่รู้สึกเจ็บ เกิดแผลง่าย แผลหายยาก เส้นเลือดตีบทำให้ขาดสารอาหารเเละออกซิเจน
การควบคุมเบาหวาน
การควบคุมระดับน้ำตาลให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ต่อการเกิดโรคเเทรกซ้อนทางหลอดเลือดใหญ่ เช่น ระดับไขมันเเละความดันโลหิต
การพยาบาล
ส่งเสริมให้มีความรู้เเละสามารถปฏิบัติเพื่อ ควบคุมโรคเบาหวาน
เเนะนำเรื่องอาหารร่วมกับออกกำลังกาย
โภชนบำบัด9 ประการ
เเนะนำเรื่องการฉีดอินสุลิน
เเนะนำเรื่องการดูเเลเท้าอย่างถูกต้องสม่ำเสมอ
ภาวะท้องผูก
การถ่ายอุจาระเเข็งเเละแห้งผิดปกติ
เป็นภาวะที่ทำงานหรือการเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับถ่ายได้ปกติ
ชนิดของการท้องผูก
ถ่ายลำบาก หรือเจ็บเวลาขับถาย
อุจจาระมีลักษณะเเข็งมาก
มีการไหลของอุจาระในลำไส้
เเบ่งตามสาเหตุ primary
เกิดขึ้นเอง
การกินอาหาร
ละเลยไม่ถ่ายอุจาระทันทีที่ปวดถ่าย
ออกกำลังกายน้อย
ถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ดื่มน้ำน้อย
แบ่งตามสาเหตุ secondary
มีก้อนเนื้องอกของลำไส้
ลำไส้เคลื่อนไหวผิดปกติ
มีความผิดปกติทางจิต
มีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
การได้รับยา
ความสูงอายุกับการถ่ายอุจจาระ
ขับถายช้า ถ่ายอุจจาระไม่หมด ละเลยต่อการปวดถ่าย. ดื่มน้ำไม่เพียงพอ
ประเมินอาการท้องผูก
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การพยาบาล
เเนะนำการรับ :ประทานอาหารอย่างเพียงพอ เเละมีเส้นใย
เเนะนำการดื่มน้ำใันละ 6-8 แก้ว
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีกาแฟอีน
ออกกำลังกายอวัยวะที่ช่วยการขับถ่าย
ยาเหน็บควรใช้เป็นครั้วคราว. สวนด้วยสารหล่อลื่น
ต่อมลูกหมากโต
พยาธิสภาพ
ผนังด้านข้างหรือด้านในของต่อมลูกหมกจะเพื่มจำนวนเซลล์มากผิกปกติ เกิดเป็นก้อน. เบียดเนื้อเยื่อเดิมให้บางจนเหมือนเปลือกหุ้ม หรือเเคปซูล เปรียบกับผลส้ม
เบียดเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะ เเละท่อปัสสาวะ. างเกินถูกอุดกั้น ปัสสาวะลำบาก
อาการ
เบ่งปัสสาวะ รอนานกว่าปกติ ปัสสวะไม่พุ่ง ปัสสาวะบ่อย
ภาวะเเทรกซ้อน
กระเพาะปัสสาวะบีบตัวไม่ดี เกิดการคั้ง
เกิดการติดเชื้อ
ไตเสื่อม
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
วินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจพิเศษ
สอบถามอาการถ่ายปัสสาวะ
ตรวจทางทวารหนัก
ตรวจ PSA
Cystoscope
KUB
ultrasound
uroflowmetry
การรักษา
การเฝ้าสังเกตอาการ
รักษาโดยยา
การรักษาต่อมลูกหมากโตโดยไม่ใช่วิธีผ่าตัด
การผ่าตัด
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เตรียมผู้ป่วย
อาบน้ำสระผม
ทำความสะอาดเเละเตรียมบริเวณผ่าตัด
สวนอุตจาระก่อน
หลังผ่าตัด
ประเมินสัญญาณชีพ
สังเกตสีเเละจำนวนปัสสาวะ
จัดท่านอนเหยียดขา
สังเกตอาการบวมนูนของกระเพาะปัสสาวะ
ดูเเลให้สายสวนปัสสาวะเเละถุงปัสสาวะ
จัดถุงปัสสาวะอยู่ในระดับต่ำกว่ากระเพาะปัสสาวะ
ประเมินความเจ็บปวด เเละให้ยาบรรเทา
เเนะนำเพื่อการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
พักผ่อนให้เพียงพอ เดินออกกำลังกายในพื้นราบ
งดเว้นเดินขึ้นที่สูง
ดื่มน้ำมากๆ2500-3000cc /day
งดมีเพศสัมพันธ์
มาพบเเพทย์ตามนัด
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
สูญเสียการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ ทำให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาทางท่อ
ผลกระทบ
ร่างกาย
ระคายเคืองผิวหนัง เกิดแผล
จิตใจเเละสังคม
คุณค่าในตัวเองลดลง เเยกตัวจากสังคม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องการควบคุมการขับถ่าย
โครงสร้างสรีรวิทยา
ปัสสาวะมีความจุขนาดเล็ดทำให้ปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่อยู่
มีความสามารถในการยืดตัวออกเพื่อรองรับน้ำปัสสาวะยืดมากเกินไปทำให้ปัสสาวะไหลออกมาเอง
จิตใจเเละวัฒนธรรม : การตระหนักรู้
การใช้อุปกรณ์ในการขับถ่าย
สิ่งเเวดล้อมที่ช่วยเกื้อกูลในกาารปัสสาวะ
ชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ชั้วคราวหรือเฉียบพลัน
DIAPPERS ประเมิน
เรื้อรัง
เป็นมานานเป็นเดือน หรือ ปี
แบ่งออก
Functional incontinence
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ เเบบชั่วคราว เช่น เดินไปปัสสวะไม่สะดวก
ซึมเศร้าไม่รับรู้
Stress incotinence
พบใน ผญ>ผช มีปัสสาวะเล็ดออกมา เมื่อมีเเรงดันในท้องเพื่มมากขึ้น เล่น ไอ จาม
Urge incontinence
มีปัสสาวะเล็กร่วมกันกับถ่ายอย่างรุนเเรง ไม่สามารถไปเข้าห้องน้ำได้
กระเพาะมีความไวต่อการกระตุ้น
Overflow. Incontinence
ปัสสาวะเล็ดเมื่อ กระเพาะปัสสาวะยืดขยาย มีน้ำปัสสาวะเต็มเเละล้นออกมา
กระเพาะปัสสาวะพิการจากเบาหวาน อุบัติเหตุที่กระดูกสันหลัง
การทำ voiding diary
การจดบันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับเเละน้ำที่ออกมา
การตรวจร่างกาย
ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
ตรวจหย้าท้อง
ตรวจระบบประสาท
ประเมินความเเข็งเเรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การตรวจพิเศษ
Uroflowmetry
การวัดการไหลของปัสสาวะ
Cystometry
การวัดหารทำหน้าที่ของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
Cystourethroscopy
ส่องกล้องทางท่อปัสสาวะ
การพยาบาล
ค้นหาปัญหาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
พัฒนาวางแผนการดูเเลเฉพาะผู้ป่วยเเต่ละคน
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ทำให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะ
ปรับสิ่งเเวดล้อม
ป้อ
กันอันตรายเกิดกับผิวหน้งทำความสะอาดทันที
การฝึกปัสสาวะ
ฝึกใช้คำสั่งจาก คอร์เท็กซ์ของสมอง
จัดตารางในการขับถ่าย
จำกัดน้ำเเต่ละสันอย่างเหมาะสม