Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 Abdominal pain (นายธนภัทร คบหมู่ 603101031) - Coggle Diagram
บทที่ 2 Abdominal pain
(นายธนภัทร คบหมู่ 603101031)
สาเหตุของอาการปวดท้องเฉียบพลัน
1.1 สาเหตุของอวัยวะในช่องท้อง
1.1.1 ระบบทางเดินอาหาร
1.1.2 ระบบทางเดินปัสสาวะ
1.1.4 สูตินรีเวช
1.1.3 โรคของระบบหลอดเลือด
1.2 สาเหตุที่ไม่ได้ของอวัยวะในช่องท้อง
1.2.1 กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
1.2.2 เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
1.2.3 ปอดอักเสบ
1.2.4 Lead poisoning
1.2.5 มะเร็งเม็ดเลือดขาว
รูปแบบของความเจ็บป่วยในทางเดินอาหารส่วนล่าง
2.1 การเจ็บป่วยเฉียบพลัน มักเป็นกลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวมากกว่าปกติหรืออุดตัน เช่น ปวดท้อง ถ่ายบ่อย หรือถ่ายเป็นเลือด
2.2 การเจ็บป่วยวิกฤต มักเกิดจากอุบัติเหตุ
2.3 ส่วนการเจ็บป่วยเรื้อรัง มักประกอบด้วยกลุ่มอาการที่ลำไส้บีบรัดตัวน้อยกว่าปกติ เช่น ท้องผูก ฝี ไส้เลื่อน ลำไส้โป่งเป็นถุง
อาการปวดท้อง (abdominal pain)
3.1 Visceral pain มาจากการกระตุ้นอวัยวะภายใน โดยทั่วไปอาการปวดจะอยู่ในแนวกลางตัว บอกตำแหน่งไม่ได้ชัดเจน
3.2 Somato-parietal pain การกระตุ้น parietal peritoneum ซึ่งมักเกิดจากการ
มีเนื้อเยื่อบาดเจ็บหรืออักเสบในตาแหน่งนั้นๆ มักจะระบุตาแหน่งที่ปวดได้ชัดเจน
3.3 Refered pain เป็นการปวดที่ผิวหนังที่ไม่ได้อยู่ติดกับอวัยวะต้นกำเนิด
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายในช่องคลอด หรือทวารหนัก การตรวจทางทวารหนักอาจช่วยระบุ acute appendicitis ได้ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ในผู้ที่มีไส้ติ่งแบบ retrocecal type การตรวจทางช่องคลอด
จะช่วยแยกโรคทาง นรีเวชที่นามาด้วยอาการปวดท้องได้
การประเมินอาการปวด
5.1 อาการปวดเริ่มจากน้อยๆเพิ่มขึ้นเรื่อยๆช้าๆ
และทุเลาเองช้าๆ มักพบในโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือ acute gastroenteritis
5.2 มีอาการปวดเป็นๆ หายๆ ที่ความปวดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นอยู่สักครู่แล้วอาการดีขึ้นเองมักพบใน intestinal colic
5.3 อาการปวดท้องมากขึ้นเรื่อยๆอย่างช้าๆโดยอาการไม่ดีขึ้นเลย มักพบใน acute cholecystitis หรือ acute appendicitis
5.4 เป็นอาการปวดที่มากและเฉียบพลัน มักพบใน
ผู้ที่มีการแตกของท่อภายในช่องท้อง เช่น peptic perforation
5.5 ตำแหน่ง เช่น ปวดบริเวณท้องน้อยด้านขวามักนึกถึง acute appendicitis
5.6 ความรุนแรง อาการปวดที่รุนแรงมักสัมพันธ์กับโรคที่ค่อนข้างรุนแรงทั้งนี้ต้องอาศัยข้อมูลจากการตรวจร่างกายและห้องปฏิบัติการร่วมด้วย เนื่องจากความทนต่ออาการปวดของแต่ละบุคคลไม่เท่ากัน
5.7 ปัจจัยที่เพิ่มหรือลดความปวด เช่น acute appendicitis จะทุเลาปวดเมื่อได้นอนงอตัว ผู้ที่มีเยื่อบุช่องท้องอักเสบมักนอนนิ่งๆหายใจเร็วตื้น เนื่องจากการหายใจลึกหรือเคลื่อนไหวจะทำให้ปวด
5.8 อาการในระบบอื่นๆที่เกี่ยวข้องซึ่งจะได้ข้อมูลจากการซักประวัติและตรวจร่างกาย
พยาธิสรีรวิทยาของอาการปวดท้อง
6.1 จากแรงดึงหรือการยืดขยาย (stretching or tension)
6.2 จากการอักเสบ(Inflammation) ของอวัยวะในช่องท้อง
6.3 จากการขาดเลือด (Ischemia) ของอวัยวะในช่องท้อง
6.4 จากเนื้อร้าย (Neoplasm) ที่แทรกตัวเข้าไปในบริเวณปลายประสาท
ประเภทของอาการปวดท้อง
7.1 Visceral pain เป็นอาการปวดซึ่งเกิดจากการยืดตัวและตึงตัวของอวัยวะภายในช่องท้องจากการอักเสบ
7.2 Somatic pain เกิดจาก parietal peritoneum
7.3 Referred pain เป็นอาการปวดซึ่งเกิดจากสาเหตุที่อยู่ไกลจากบริเวณที่ปวด แต่อาจอยู่ใน dermatome หรือ neurosegment เดียวกัน
การซักประวัติ
8.1 Location
8.2 Radiation ตำแหน่งของ referred pain
8.4 Type and character
8.3 Onset ระยะเวลาของการเริ่มปวด
8.5 Chronology ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับการปวด
8.6 Onset ระยะเวลาของการเริ่มปวด
Acute หรือ sudden onset ไม่เกิน 4 สัปดาห์
–Subacute onset มีอาการ ไม่เกิน 3 เดือน
–Gradual onset นานเกิน 3 เดือน
8.7 Relieving & aggravating factorssymptoms
8.8 Associated symptoms
8.9 ประจำเดือน
8.10 ประวัติการใช้ยา
Investigation
9.1 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC, U/A, electrolyte, BUN, creatinine, Liver function test มักเป็นการตรวจพื้นฐานในผู้ที่มีอาการปวดท้อง การแปลผลต้องพิจารณาร่วมกับการตรวจร่างกายเนื่องจากผลเหล่านี้ไม่มีความเฉพาะเจาะจงของโรค
9.2 การตรวจพิเศษ การตรวจทางรังสี (X-ray Abdomen) คลื่นความถี่สูง (Ultrasound) หรือ(Computerized tomography-CT) จะมีประโยชน์มากในรายที่อาการไม่เฉพาะเจาะจง
9.3 การตรวจอื่นๆ เช่น Endoscopic retrograde cholangiography (ERCP), Pertitoneal lavage , laparoscope แพทย์จะทาเมื่อมีข้อบ่งชี้ชัดเจน เนื่องจากต้องมีการเจาะ หรือ ผ่าตัด
การพยาบาล
10.1 เนื่องจากมีโรคมากมายที่ทาให้เกิดอาการปวดท้อง บทบาทของพยาบาล คือช่วยบรรเทาอาการปวดให้กับผู้ป่วย รวมทั้งการประเมินภาวะน้าและเกลือแร่ รวมทั้งช่วยแพทย์ในการสืบค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดเพื่อให้ได้รับการแก้ไขปัญหาที่สาเหตที่แท้จริง
10.2 โรคในระบบทางเดินอาหารส่วนล่างที่ทาให้ปวดท้องที่พบบ่อยได้แก่ ไส้ติ่งอักเสบ ลำไส้อุดตันและเยื่อบุช่องท้องอักเสบ