Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีที่ 3 : โรคที่2. Pyelonephritis - Coggle Diagram
กรณีที่ 3 : โรคที่2. Pyelonephritis
พยาธิสภาพ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้ออักเสบเฉียบพลันในบริเวณกรวยใด ส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดอีโคไล (E.coli) ซึ่งเป็นเชื้อที่พบในอุจจาระของคนทั่วไปส่วนในคนที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ อาจเกิดจากการติดเชื้อราได้โดยเชื้อโรคมักจะแพร่กระจายมาจากบริเวณผิวหนังรอบๆ ท่อปัสสาวะ (จากอุจจาระ) เข้ามาในท่อปัสสาวะกระเพาะปัสสาวะและผ่านท่อไตขึ้นมาอยู่ในกรวยโตทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อไตรอบ ๆ กรวยไต
เมื่อมีการอักเสบไตจะขยายใหญ่ขึ้น เกิดมีการคั่งของเลือดและบวม มีการติดเชื้ออย่างรุนแรง โดยทำไปตามผนังของกรวยไตน้อย (Calyses) กรวยไตจะบวมและมีลักษณะแดงจัด อาจเลือดออกด้วย ถ้าการติดเชื้อไม่รุนแรงและถ้าได้รับการรักษาทันท่วงที่จะมีรอยแผลเป็นบ้างเล็กน้อย แต่ถ้าเป็นเรื่องทำให้เกิดแผลเป็น (Fibrosis) จนทำให้ท่อต่างๆ ของไตอุดตันเส้นเลือดฝอยตีบแคบทำ ให้ไตขาดเลือด ขนาดของไตเล็กลง หน้าที่ของไตจะเลวลงจนในที่สุดจะเกิดภาวะไตวายได้ (Renal failure)
อาการและอาการแสดง
พบอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดเอวด้านซ้าย ซึ่งเป็นด้านที่มีพยาธิสภาพของโรค ปัสสาวะแสบขัด น้ำปัสสาวะมีตะกอนขุ่น การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาว 30-50 cell/HPF เม็ดเลือดแดง 10-20 cell/HPF การเพาะเชื้อน้ำปัสสาวะพบเชื้อ gram negative stphylococcus > 105 CFU/ml การตรวจเม็ดเลือดขาว 10.6 thsd/cumm คราจพบน้ำตาลในเลือดเท่ากับ 210 mg / dl.
plan diagnosis
นอกจากนั้นยังอาจมีการตรวจอื่น ๆ เพิ่มเติมเช่นการถ่ายภาพไตด้วยการเอกซเรย์หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรืออัลตราซาวนด์หรือใช้วิธีการส่องกล้องตรวจทางเดินปัสสาวะ
มักตรวจพบไข้สูง 35-40 องศาเซลเซียส ปัสสาวะมีลักษณะขุ่น
สามารถวินิจฉัยโรคนี้ได้จากประวัติอาการประวัติการมีเพศสัมพันธ์การตรวจร่างกายและจากการตรวจปัสสาวะ ซึ่งจะพบเม็ดเลือดขาวอยู่กันเดี่ยว ๆ และเกาะกันเป็นแพ (White blood cell cast) ส่วนในรายที่รุนแรงอาจมีการตรวจเชื่อเพาะเชื้อจากปัสสาวะและ/หรือจากเลือด
ถ้าใช้กำปั้นทุบเบา ๆ ที่สีข้างตรงที่มีอาการปวดผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บจนสะดุ้งส่วนหน้าท้องอาจมีอาการกดเจ็บหรือท้องเกร็งแข็งเล็กน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
SD
ผู้ป่วยบอกว่า " มีอาการปวดท้องน้อยด้านขวา ปัสสาวะออกน้อย 4 ชั่วโมงก่อนมารพ. ให้ประวัติว่าปวดท้องน้อยแล้วร้าวไปที่หลัง ปัสสาวะไม่ค่อยออก เวียนศีรษะคลื่นไส้อาเจียน ออกมาเป็นเศษอาหาร 4 ครั้ง "
OD
rebound tenderness
tenderness at right site
GA : Look weakness
BP = 140/90 mmHg
R = 24 ครั้ง/นาที
plan for treatment
supportive
นอนพักผ่อนให้เพียงพอ
ดื่มน้ำสะอาดให้มาก ๆ อย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ไม่กลั้นปัสสาวะนานและเมื่อเข้าห้องน้ำให้นั่งบนโถ เนื่องจากการยืนบนโถจะทำให้ถ่ายปัสสาวะไม่สุดซึ่งจะเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการติดเชื้อ
symptomatic
ถ้ามีไข้หนาวสั่นให้รับประทานยาลดไข้เช็ดตัวด้วยน้ำอุ่นดื่มน้ำให้มาก ๆ และห่มผ้าหนา ๆ
specific
ให้รับประทานยาปฏิชีวนะเช่น Amoxicillin, Co-trimoxazole, ofloxacin ciprofloxacin ซึ่งมาทั้งหมดนี้ให้รับประทานนาน 14 วัน