Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
บทที่ 8
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
:<3:หัวใจขาดเลือด
•กล้ามเนื้อหัวใจมีความไม่สมดุลของการใช้ออกซิเจน กับความต้องการออกซิเจน
แบ่งเป็น 3 ประเภท
•ST segment elevation myocardial infarction (STEMI)
•Non-STEMI (NSTEMI)
•Unstable agina
:star:สาเหตุ
-ร้อยละ 70 เกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
-มีหลายสาเหตุ เช่น พยาธิสภาพของหลอดเลือดหัวใจ ลิ้นหัวใจตีบ ภาวะซีด กล้ามเนื้อหัวใจโต
:star:ปัจจัยเสี่ยง
-ลักษณะของคราบไขมันในหลอดเลือดหัวใจ ขนาด มีความหนาตัว
-การไหลเวียนของเลือดในหัวใจ ความหนืดของเลือด
-กระบวนการแข็งตัวของเลือดภายใน
-กลุ่มอาการ metabolic และการอักเสบ
-ความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมนและระบบประสาท
-สิ่งแวดล้อมและยา
:star:อาการ
-เจ็บหน้าอก พบได้ร้อยละ 70
-คลื่นไส้ อาเจียน
-ไข้
-เหงื่อออกมากตัวเย็น
-อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
-อาการทางจิตใจ
:star:การตรวจวินิจฉัย
•ซักประวัติ
•การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
-ST segment ยกขึ้นสูง (elevation)
-ST segment ลดต่ำลง (Depression)
-T wave หัวกลับ (Inversion)
•การตรวจ cardiac marker
-กล้ามเนื้อหัวใจตาย จะตรวจพบว่า Troponin I และ T ในกระแสเลือดเพิ่มขึ้นภายในเวลา 2-3 ชม. (ค่าปกติ <0.1 no/ml)
-ระยะเวลาที่ตรวจพบ เริ่มตั้งแต่ 6-12 ชม.และจะสูงนานถึง 14 วัน
•การตรวจพิเศษ
-ตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง (Echocardiography)
-การสวนและฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (Cardiac catheterization)
:star:การรักษา
-การกำจัดบริเวณการขาดเลือดของหัวใจ ไม่ให้เกิดวงกว้าง
-เปิดหลอดเลือดด้วยยาละลายลิ่มเลือด หรือการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน
:star:กิจกรรมการพยาบาล
-ประเมินอาการโดยคำนึงถึง PQRST
P = provokes ปัจจัยชักนำ
Q = Quality ลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
R = Region and refer ตำแหน่ง
S = Severity ความรุนแรง
T = Time ระยะเวลา
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 leads เมื่อแรกรับผู้ป่วยภายใน 10 นาที และทุกครั้งที่เจ็บหน้าอก
หยุดทำกิจกรรมของผู้ป่วย เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกให้จัดท่านั่งหรือนอนแบบ semi Fowler position
ดูแลให้ได้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา ส่วนใหญ่มักเป็นแขนตรงข้ามกับข้างที่ทำ
:<3:หัวใจล้มเหลว
•แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
:<3:Acute heart failure : เป็นภาวะหัวใจที่เกิดแบบเฉียบพลัน ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ลิ้นหัวใจรั่วอย่างรุนแรง และกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
:<3:Chronic heart failure :เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดซ้ำบ่อยๆพบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กล้ามเนื้อหัวใจตาย
•แบ่งตามประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
:<3:Heart failure with reduce ejection fraction (HFrEF) : เป็นภาวะหัวใจที่มีการบีบตัวของหัวใจล่างซ้าย LVEF ต่ำกว่า 40%
:<3:Heart failure with mid range ejection fraction (HFmeEF) : เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวที่มี LVEF 40-49% มี BNP มากกว่า 35 pg/ml ร่วมกับหัวใจห้องล่างหนาตัว หัวใจขณะคลายตัวทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
:<3:Heart failure with preserved ejection fraction (HFpEF) : เป็นภาวะหัวใจล้มเหลวที่มี LVEF ตั้งแต่ 50%ขึ้นไป ร่วมกับมีความผิดปกติตามเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งในสองข้อเช่นเดียวกับ HFmrEF
•จำแนกกลุ่มผู้ป่วยตามระดับความรุนแรง
:<3:stage A HF : เป็นผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง เช่น HT DM หลอดเลือดตีบแข็ง และกลุ่มอาการเมตาโบลิก
•การรักษา
-เป้าหมาย : เพื่อป้องกันการเกิดโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด ควบคุมปัจจัยเสี่ยง ควบคุมน้ำหนัก
-ยาที่ใช้ คือ ACEls , ARBs
-ใช้ยา statin เพื่อป้องกันหลอดเลือดแดงตีบแข็งในผู้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสูง
:<3:stage B HF : เป็นผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของโครงสร้างหัวใจแต่ไม่มีอาการ เช่น MI
•การรักษา
-ป้องกันการเกิด symptomatic heart failure และ cardiac remodeling
ใช้ยารักษาเช่นเดียวกับ stage A
:<3:stage C HF : เป็นผู้ป่วยที่มีหรือเคยมีอาากรแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวมาก่อน
•การรักษา
-เป้าหมายากรจัดการเพื่อควบคุมอาการ
ยาที่ใช้ คือ ACEls / ARB , เบต้าบล็อกเกอร์ ร่วมกับ loop diuretic
-self management
:<3:stage D HF : เป็นผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของโรค มีการดำเนินของโรคไม่ดี และตอบสนองต่อการรักษาต่ำ
•การรักษา
-เป้าหมายควบคุมอาการ การปรับปรุงคุณภาพชีวิต
-เป็นกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาากรรุนแรงเข้าสู่ระยะท้ายของโรค
-ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
•จำแนกตามหน้าที่ทางกาย (NEW YORK HEART ASSOCIATION)
:<3:Class I : ผู้ป่วยที่ไม่มีข้อจำกัด สามารถทำกิจวัตรประจำวันปกติ ไม่มีอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลว เช่น เหนื่อย อ่อนเพลีย
:<3:Class II : ผู้ป่วยที่มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมเล็กน้อย รู้สึกสบายเมื่อพัก แต่เมื่อทำกิจวัตรประจำวันตามปกติจะมีอาากรแสดง
:<3:Class III : ผู้ป่วยที่มีข้อจำกัดในการทำกิจกรรมมาก จะรู้สึกสบายเมื่อพัก แต่เมื่อทำกิจวัตรประจำวันเพียงเล็กน้อยจะมีอาการแสดง
:<3:Class IV : ผู้ป่วยที่ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้เลย แม้ในขณะที่พักจะมีอาากรเหนื่อย หายใจลำบากชัดเจน
:star:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจรังสีปอด
-การตรวจเลือด
-การตรวจคลื่นความถี่สูง
-การตรวจคลื่นสะท้อนความถี่สูง
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
-การรปะเมินระดับความดันในหัวใจห้องบนซ้าย
:star:การพยาบาล
-ดูแลให้ยาลด after load
-ดูแลให้ยาที่ลด preload
-ดูแลให้บสเพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจ
-ให้การบำบัดด้านโภชนาการ ลดปริมาณโซเดียมในร่างกาย
-บันทึกและประเมินสัญญาณชีพ
-ประเมินอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน
:<3:ความดันโลหิตสูง
-ระดับความดันโลหิต 140\90 mmHg หรือมากกว่า ซึ่งอาจเป็นตัวบนหรือตัวล่างก็ได้
:star:Isolated systolic hypertension :ระดับความดันตัวบน 140 mmHg หรือมากกว่า แต่ระดับความดันตัวล่างต่ำกว่า 90 mmHg
:star:Isolated office hypertension : เมื่อวัดความดันที่รพ.หรือคลิกนิกพบว่ามีค่า 140\90 mmHg หรือมากกว่า เเต่เมื่อวัดที่บ้านพบว่าต่ำกว่า 135\85
:star:Mask hypertension : ภาวะที่วัดความดันที่คลินิกหรือรพ.พบว่าปกติ แต่เมื่อวัดที่บ้านพบว่าความดันสูง
:star:จุดมุ่งหมายในการประเมิน
-เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง และประเมินความรุนแรงของโรค
เพื่อประเมินร่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย TOD
-เพื่อตรวจหาโรคที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด CVD
:star:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-Flasting plasma glucose
-Serum total cholesterol ,HDL , LDL
-Hb , Hct
-UA
-ECG
-echocardiography -วัดปริมาณ albumin
-ตรวจจอประสาทตา
:star:ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
-ระดับ SBP , DBP
-ระดับของ pulse pressure > 60 มม.ปรอท
-อายุ > 55 ปีในเพศชาย หรือ > 65 ปีในเพศหญิง
-สูบบุหรี่
-ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
-FPG 100-125 มก.\ดล.
-ประวัติการเกิด CVD ในบิดา มารดา หรือพี่น้องก่อนวัยอันควร
-อ้วนลงพุง WC > 90 ซม.ในเพศชายและ >80 ซม.ในเพศหญิง
:star:การรักษาและการพยาบาล
~การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
~การรักษาด้วยยา
-ติดตามการวัดความดันโลหิต
-หมั่นสังเกตอาการผิดปกติ
-รัยประทานอาหารแบบ DASH และลดอาหารรสจัดและมีโซเดียวสูง
-ออกกำลังกายแบบแอโรบิคอย่างสม่ำเสมอ
:<3:โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
:star:สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
-การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลัก
-มลพิษในอากาศ การใช้ไม้ฟืนทำครัวในบ้าน
-การขาด alpha1-antitrypsin
-โรคหอบหืด
:star:พยาธิสภาพ
-การจำกัดการไหลของอากาศและการขังของอากาศในถุงลม (Airflow limitation and air tapping)
-มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซ (Gas exchange abnormalities)
-มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น (Mucus hypertension)
-ความดันในปอดสูง (pulmonary hypertension : PAH)
:star:อาการแสดง
-เหนื่อ หายใจลำบาก
-ไอเรื้อรัง
-แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด (wheeze)
-เหนื่อยล้า น้ำหนักลด เบื่ออาหาร
:star:การวินิจฉัยโรค
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกาย
-Chest x-ray
-ABG
-สมรรถภาพปอด
:star:การรักษา
-การหยุดสูบบุหรี่
-การใช้ยา
-การรักษาด้วยออกซิเจน
-การรักษาอื่นๆ
:star:กิจกรรมการพยาบาล
-ประเมินการหายใจ ระดับความรู้สึกตัว
-ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
-จัดท่า High Flower เพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ปอดได้ดี
-ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
-ใช้ยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
:<3:ปัญหาการสื่อสาร
•การสื่อสาร คือ การส้งสารและรับข้อมูลจากโลกภายนอกทั้งโดยวัจนะและอวัจนะภาษา
•การสื่อสารที่ดี
-เป็นทักสำคัญในการพยาบาลผู้สูงอายุ
-ช่วยพัฒนาสัมพันธภาพเชิงบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้สูงอายุ
•ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
-หู : การได้ยินลดลง หรืออาจมีการอุดตันของขี้หู
-ตา : ตาฝ้ามัว มองไม่ชัดเจน
-มะเร็งกล่องเสียงหรือช่องปาก
•การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการมองเห็น
-ประเมินว่าพูดคุยทางไหนจึงจะเหมาะสม
-ผู้สูงตาบอด ให้แนะนำตัวเองและผู้ที่อยู่ด้วย และเมื่อจากไปให้บอก
-อธิบายสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อให้ผู้สูงอายุคุ้นเคย
-เมื่อต้องเดินไปกับผู้สูงอายุต้องให้ผู้สูงอายุจับแขน ก่อนขึ้นบันไดให้หยุดเดินหรือรั้งไว้ บอกให้รับรู้
•ความผิดปกติของการสื่อสารที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
:star:Aphasia
-เป็นความผิดปกติของการพูดและการใช้ภาษา
-มีลักษณะ คือ พูดไม่ได้ หรือพูดได้แต่ไม่เข้าใจภาษา
-มักพบในผู้ป่วยฌรคหลอดเลือดสมอง อุบัติเหตุทางสมอง เนื้องอกที่สมอง
•การพยาบาล
-พยายามสื่อสารด้วยคำพูดถ้าผู้สูงอายุฟังเข้าใจ
-อดมนและให้เวลา จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ
-พูดช้า ชัด ถามทีละคำ ให้รอคำตอบ อาจต้องถามซ้ำตามจำเป็น
:star:Dysarthria -เป็นความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อการพูด คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด พูดแบบลิ้นแข็งๆ หรือพูดตะกุกตะกัก
-เกิดจากความอ่อนแรงของใบหน้า ปาก ลิ้น และขากรรไกร
•การพยาบาล
-บอกกับผู้ที่ผู้สูงอายุสื่อสารด้วยว่า มีความยากลำบากในการสื่อสาร
-พูด ช้าๆ ดังๆ ในสิ่งแวดล้อมที่เงียบ
-หายใจลึกๆก่อนพูด พุดทีละคำ
-ตระหนักว่าผู้สูงอายุมี dysarthria ไม่ได้สูญเสียความฉลาดไปด้วย
:star:การทำงานของสมองแต่ละซีก
•สมองซีก (Left dominant hemisphere)
-ควบคุมเกี่ยวกับภาษาและทักษะต่างๆของผู้ที่ถนัดขวา
-คนที่ถนัดมือซ้ายมักจะมีสมองซีกซ้ายหรือทั้งสองข้างเด่น
-ถ้าผู้ป่วยมีพยาธิสภาพของสมองซีกซ้ายจะทำให้เกิดความผิดปกติของการใช้ภาษา (Aphasia)
•สมองซีกขวา (Right non-dominant hemisphere)
-ควบคุมและเชื่อมโยงการเคลื่อนไหวกับการรับรู้ต่างๆแสดงพฤติกรรมทางอารมณ์
-ถ้าสมองส่วนนี้ได้รับบาดเจ็บ ทำให้ผู้ป่วยจำทิศทางไม่ได้ ไม่สนใจร่างกายด้านตรงข้าม
:star:สมองส่วนสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพูดและความเข้าใจภาษา
-Wernicke’s area
~อยู่บริเวณเหนือกกหูด้านซ้าย
-เมื่อถูกทำลายจะทำให้เกิดภาวะเสียการสื่อความหมาย (aphasia)
~ความบกพร่องของความเข้าใจภาษาแบัการพูด ผู้ป่วยจะได้ยินสิ่งที่คนอื่นพูดแต่ไม่เข้าใจความหมาย
~ผู้ป่วยพูดได้แต่ไม่มีความหมาย
-Broca’s area
~อยู่บริเวณ brodmann’s area 44 และ45
~ถ้าถูกทำลายจะทำให้สูญเสียการสื่อสารที่ออกมาเป็นคำพูด บอกชื่อสิ่งของไม่ได้ แต่ยังเข้าใจในสิ่งที่คนอื่นสื่อสารได้
:star:มีปัญหาเรื่องการนึกคำพูด (Nominal aphasia)
-นึกคิดคำศัพท์ที่จะพูดได้ยากลำบาก
:star:มีปัญหาทั้งเรื่องการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจภาษา (Global aphasia)
-ผู้ป่วยมีปัญหาทั้งเรื่องการพูดและการเข้าใจในภาษาในระดับที่ใกล้เคียงกัน