Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล - Coggle Diagram
การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
กลไกกระตุ้นและส่งเสริมให้โรงพยาบาลมีการพัฒนาคุณภาพทั้งองค์กรรอย่างมีระบบโดยมีกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอนคือ การพฒันาคณุภาพ การประเมินคณุภาพ
และการรบัรองคณุภาพ.
ผู้ได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาคุณภาพ
เจ้าหน้าที่
ผู้ป่วย
โรงพยาบาล
การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
การพัฒนาคุณภาพ (Quality Improvement) คือ การจัดระบบบริหารและระบบการทางานในโรงพยาบาลตามแนวทางที่กำหนดไว้ในมาตรฐานโรงพยาบาล มีระบบตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุงด้วยการประสานกิจกรรมการบรหิารความเสี่ยง(riskmanagement-RM)การประกันคุณภาพ(qualityassurance-QA)การพฒันาคณุภาพอย่างต่อเนื่อง(continualqualityimprovement-CQI)
กิจกรรม 5 ส.
1.สะสาง คือ การแยกให้ชัดเจนระหว่างของที่จำเป็นกับของที่ไม่จำเป็น
สะดวก คือ การจัดวางของที่จำเป็นให้ง่ายต่อการนำไปใช้
3.สะอาด คือ การทำความสะอาดสถานที่อปุกรณ์สิ่งของเครื่องใช้
สุขลักษณะ คือ สภาพหมดจด สะอาดตา
5.สร้างนิสัย คือ การปฏิบัติให้ถูกต้องและติดเป็นนิสัย
HA(HospitalAccreditation)
หมายถึง การรับรรองคุณภาพสถานพยาบาลโดยเฉพาะ
(ไม่สามารถนำไปใช้กับการรับรองโรงงานหรือบริการอย่างอื่นได้)
มีกิจกรรมหลัก 3 ขั้นตอน
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง คือ การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์ในการปรับปรุงระบบงานเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับผลงานอย่างไม่หยุดยั้ง
การประเมินคุณภาพ
(Quality Assessment)
การตรวจสอบระบบงานและสิ่งท่ี
ปฏิบัติกับข้อกำหนดในมาตรฐาน
โรงพยาบาล
การประเมินคุณภาพโดยโรงพยาบาล
(Self Assessment) คือ เป็นการประเมิน
ตนเองเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการพัฒนาคณุภาพ
การประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก (External Survey)
1.การประเมนิความพรอ้มของโรงพยาบาล(PreparationSurvey)
2.การประเมนิเพื่อพจิารณารบัรอง(AccreditationSurvey)
3.การประเมินหลังการรับรอง
ISO (International Organization for Standardization )
ประโยชน์ของระบบISO9001ต่อองค์กร
ช่วยให้นักบริการมีมาตรการขั้นตอน
ปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน
ประโยชนข์ องระบบ ISO9001 ต่อพนักงาน
พนักงานจะได้รับทราบวิธีการปฏิบัติการและ
การอบรมที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของตนเอง
ระบบ ISO9001 กับการจัดการเอกสาร
ระเบียบปฏิบัติที่จัดทำเป็น
เอกสารตามข้อกำหนดในมาตรฐาน
เอกสารอื่นๆท่ีองค์การจำเป็นต้อง
มีเพื่อสร้างความมั่นใจว่าสามารถ
วางแผนดำเนินงานและควบคุม
กระบวนการได้อย่างมีประสิทธิผล
TQM (Total Quality Management)
เป็นระบบบริหารคุณภาพท่ีมุ่งเน้นการให้
ความสำคัญสูงสุดต่อลูกค้าภายใต้ความ
ร่วมมือของพนักงานทั่วทั้งองค์กร
Total ทกุคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการบริหารระบบคุณภาพ
Quality การสร้างความพึงพอใจของลกูค้า
Management ระบบการบริหารจัดการคุณภาพ
ประโยชน์ของ TQM
1.ก่อให้เกิดคณุค่าของสินค้าและบริการเพื่อนำเสนอต่อลูกค้า
2.ก่อให้เกิดศักยภาพในการแข่งขันและความได้เปรียบทางธรุกิจ
3.ช่วยลดต้นทุนในการผลิตและการดำเนินงานในการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด
4.เป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มผลผลิต
5.ทำให้มีการกำหนดจุดควบคุมที่เหมาะสม
The Joint Commission International (JCI)
JCIเป็นองค์กรอิสระไม่ห่วงหวัง
ผลกำไรไม่ขึ้นกับรัฐบาลภายใต้
กำกับ TheJointCommission
ซึ่งเป็นสถาบันของประเทศอเมริกา
ที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
JCI เจาะลึกไปถึงคุณภาพของการรักษา
พยาบาลระหว่างผู้ให้การรักษาพยาบาล
(HealthcareProvider)
สถานพยาบาล(อาคาร สิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องมืออปุกรณ์)
บุคลากร(ทกุส่วนไม่เฉพาะแพทย์พยาบาล)
ผู้รับการรักษา (Patient) ซึ่งหมายรวมถึงผลกระทบต่อญาติและผู้เกี่ยวข้อง
การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล
กระบวนการวิเคราะห์และรายงานผลข้อมูลโดยแยกแยะปัญหาและตัวแปรต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการพยาบาลและนำมาจัดลำดับความสำคัญและหาแนวทางแก้ไขป้องกัน ใช้หลักการควบคุมคุณภาพตามวงจรเดมมิ่ง(Deming’sPDCACircle)
การวางแผน(Plan)
เป็นขั้นตอนการนำข้อมูลมาวางแผนปรับปรุงคุณภาพ
การดำเนินการ (Do)
เป็นขั้นตอนการนำมาตรฐานหรือแนวปฏิบัติบัติไปเนินการ
การตรวจสอบผลการดาเนินการ(Check/Study)
เป็นขั้นตอนการตรวจสอบผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพวิเคราะห์ และประเมินผลการพัฒนาคุณภาพที่เกิดขึ้น
การกำหนดให้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติ(action)
ผลลัพธ์การดำเนินการพัฒนาคุณภาพที่บรรลุ
ตามเป้าหมายให้กำหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติ
1.การวิเคราะห์สาเหตุราก(rootcauseanalysis)
-ด้านการสื่อสาร สื่อสารกับผู้ป่วยถูกคนหรือไม่
-ด้านเครื่องมือ เครื่องมือเหมาะสมกับการใชิงานหรือไม่
-ด้านอุปสรรค มีอุปสรรคอะไรในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ไม่พึ่งประสงค์นั้นหรือไม่
-ด้านสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมของการปฏิบัติงานได้รับการออกแบบมาอย่างเหมาะสมเอื้ออาทรต่อการ
ปฏิบัติงานหรือไม่
-ด้านกฎระเบียบการทำงาน มีแผนการจัดการความเสี่ยงในเรื่องนั้นหรือไม่
-ด้านความเหนื่อยล้าในการทำงาน เจ้าหน้าที่ได้พักผ่อนอย่างเพียงพอหรือไม่
การวิเคราะห์ทำผังงาน (flowcharts) การทผังงานทำให้ทีมเข้าใจขั้น ตอนที่เกี่ยวข้องในการให้บริการ
3.ผังแสดงเหตุและผล(อิชิกาวา/ผังก้างปลา)นำมาใช้เพื่อนำรวจและแสดงสาเหตุที่เป็นไปได้ทั้งหมดของผลบางอย่าง
นวัตกรรมการบริการพยาบาล
(nursing service innovation)
หมายถึง สิ่งใหม่ที่สร้างสรรค์การบริการพยาบาลได้แก่สิ่งประดิษฐ์เครื่องมือในการให้บริการพยาบาลวิธีการให้บริการแบบใหม่ระบบงานบริการพยาบาลใหม่
1.นวัตกรรมที่เป็นสิ่งประดิษฐ์เป็นนวัตกรรมที่พยาบาลคิดค้นหรือประดษิฐ์ขึ้นเพื่อช่วยในการให้บริการพยาบาล จากการที่ประสบกับปัญหาในการให้บริการพยาบาลแก่ผู้ป่วย
2.นวัตกรรมที่เป็นระบบบริการหรือกระบวนการบริการพยาบาลเป็นนวัตกรรมที่พยาบาลคิดค้นหรือพัฒนาจาก การที่พยาบาลหรือผู้ป่วยประสบกับปัญหาในระบบบริการพยาบาล
บทบาทของพยาบาลกับนวัตกรรมการบริการพยาบาล
1.ด้านการคิดค้นนวัตกรรม
เป็นการท่ีพยาบาลเป็นผู้วางแผนและคิดค้นการใช้นวัตกรรม
ด้านการเป็นผู้ใช้นวัตกรรม
พยาบาลต้องมีการศึกษานวัตกรรมให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงข้อดี ข้อเสีย และ เตรียมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจนวัตกรรมอย่างถูกต้องตรงกัน
3.ด้านการประเมินผลนวัตกรรม
การติดตามนิเทศอย่างใกล้ชิดและประเมินผลเป็นระยะๆ ทั้งนี้เพื่อจะได้ทราบ ข้อดี ข้อเสียของการดำเนินงานและนำมาแก้ไขปรับปรุง
แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการบริการพยาบาล
1.การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
ต้องมีการประเมินความต้องการนวัตกรรม(needanalysis)
ของกลุ่มหมาย
2.การสร้างรูปแบบ
การสร้างแนวร่วมและทีมงาน
การกำหนดประเด็น/หัวข้อที่ต้องการพัฒนานวัต กรรมให้มีความเจาะจง
การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบโดยตรวจสอบว่ามีกลวิธีใดบ้างที่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้นได้
การออกแบบนวัตกรรมการบริการพยาบาล
3.การดำเนินการตามรูปแบบ
มี การทดลองใช้นวัตกรรมนั้นๆในหน่วยงานหรือกลุ่มเป้าหมายตามที่ได้วางแผนไว้
ส่ิงสาคัญที่ต้องคำนึงถึงในการออกแบบนวัตกรรมการบริการพยาบาล
1.ประสิทธิภาพ(efficiency)มีการสรุปผลลัพธ์ของนวัตกรรมที่ค้นคว้าและมีหลักฐานทางวชิาการสนับสนุน
2.ความปลอดภัย(safety)นวัตกรรมที่สร้างขึ้นต้องมีความปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและผู้ใช้งาน
3.การใช้ทรัพยากร(resource)นวัตกรรมที่ดีนั้นเมื่อมีการผลิตและนำไปใช้จะต้องมีความคุ้มค่าและคุ้มทุน
4.ความสามารถในการถ่ายโอนสู่การนาไปใช้(usabilityandtransferability)
มีเป้าหมายของนวัตกรรมที่สอดคล้องกับคุณค่า(value)
นวัตกรรมนั้นๆต้องสอดคล้องสนับสนุนของพันธกิจและกิจกรรมการดำเนินงานขององค์กร