ข้อ2.เด็กชายอายุ3ปี ไอ หายใจเหนื่อย ๆ ชั่วโมงก่อนมารพ. เดิมมีอาการไอไปหาหมอที่โรงพยบาลได้ยาไปรับประทานแต่อาการไม่ดีขึ้น และเป็นมากขึ้น
ปฏิเสธโรคประจำตัว สิ่งที่ตรวจพบ T=36.59C, P=128/min, R=30/mia, BW=16kgs.GA : look weakness, mild dyspnea, Pharynx mild injected, no sinustenderness,cough with moderate muciod sputun, rhonchi breath soundat left lower lobe, normal s1 s2 , nomurmur, normal abdomen
-
Plan for diagnosis
จากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย อาการของผู้ป่วยเข้าข่ายการเป็น acute bronchitis แต่เพื่อให้วินิงฉัยได้อย่างแน่ชัด ควรได้รับการตรวจ chest X-ray
-
Objective data
R=30 b/m Mild dyspnea, Pharynx mild injected,Cough with moderate mucoid sputum, Rhonchi breath sound at left lower lobe
Supportive
-การทำกายภาพบำบัดทรวงอกเพื่อระบายเสมหะ แนะนำให้ทำในผู้ป่วยที่ไม่สมารถไอเอาเสมหะออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-หลีกเลี่ยง ควัน, กลิ่นฉุน, ควันบุหรี่, สารเคมี, ฝุ่น, สารระคายเคืองต่างๆ ซึ่งจะทำให้กรอักเสบในหลอดลมเป็นมากขึ้น
-หลีกเลี่ยงอากาศเย็นและแห้ง ซึ่งจะทำให้ไอมากขึ้น โดยเฉพาะการเปิดแอร์ พัดลมเป่า การดื่มหรืออาบน้ำเย็น
Symtometic
ดื่มน้ำมากๆ ดูแลให้ได้รับยา paracetamol รับประทานยาลดหรือระ งับอาการไอ หรือยาขยายหลอดลม มีเสมหะมาก รับประทานยาขับเสมหะ (expectorant) หรือ ยาละลายเสมหะ (mucolytics)ให้ยากลุ่ม antihistamine, decongestant |lละ beta-2 agonist12 พิจารณาให้ในผู้ป่วยที่มิโรคประจำตัว เช่น allergic rhinitis, reactive airway disease
specific
เนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่ของหลอดลมอักเสบเฉียบพลันเกิดจากไวรัส ดังนั้นการให้ยาต้านจุลชีพจึงไม่มีประโยชน์ยกเว้นในรายที่มีลักษณะบ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรีย ควรให้ยาต้านจุลชีพที่ครอบคลุมเชื้อที่น่าจะเป็นสาเหตุ
พยาธิสภาพ
เป็นการอักเสบของทางเดินหายใจส่วนล่างตั้งแต่ distal traches ลงไปจนถึง medianและ large-sized bronchi มักเกิดตามหลังการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจส่วนบนได้แก่ เยื่อบุจมูกอักเสบ , คออักเสบ และมีการแพร่กระจายของเชื้อที่เป็นสเหตุจากด้านบนลงมาด้านล่าง ทำให้เกิดการอักเสบร่วมกับมีการทำลายของ ciliated epithelium ของหลอดลม ทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจเกิดภาวะบวมมีเสมหะเพิ่มมากขึ้น การอักเสบอาจทำเกิดภาวะหลอดลมไว (airway hyperresponsiveness:)และมีเสมหะเพิ่มมากขึ้น (mucous production)ให้ผู้ป่วยบางรายอาการสำคัญของผู้ป่วย ได้แก่ อาการไอ ในผู้ป่วยที่มีอาการไอแบบเฉียบพลัน จำเป็นต้องแยกโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันกับโรคอื่นเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม
อาการและอาการแสดง
ไอ บางครั้งอางเจ็บหน้าอกขณะที่ไอ มีเสมหะ อาจมิสิเหลืองหรือเขียวบางรายอาจมีเลือดปนอยู่ด้วย แค่จะพบได้น้อย แสบคอ หรือมีอาการเจ็บคอรวมอยู่ด้วยหายใจลำบาก หอบเหนื่อย หายใจมีเสียงหวิด หรือมือการแน่นหน้าอกไข้มีอาการครั่นเนื้อครั่นตัวก่อน ซึ่งผู้ป่วยอาจมีไข้ หรือไม่มีไข้ก็ได้