Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle…
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติ ความเป็นมา
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์ ทําให้เกิด
สังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้น
เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing) ที่เน้นการให้คุณค่า และการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์
หาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ
เข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกัน
ความสำคัญของการเข้าใจวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆเพิ่มขึ้น
ประชาชนสามารถเรียกร้องตามสิทธิของผู้ป่วย
เรียกร้องความเท่าเทียมกันในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน
แนวคิดและหลักการ
แนวคิด
holistic nursing+anthropology
Humanism
อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์
Poststructuralist perspective
สอดคล้องกับวัฒนธรรม
collective society
isolate society
แนวนโยบายของประเทศ
ประเทศไทย มุ่งเน้นการดูแลให้ผู้ย้ายถิ่นปรับตัว
องค์ประกอบสําคัญ
เข้าใจ
เข้าถึง
พัฒนา
ญี่ปุ่นสมัยก่อนเป็นแบบปิดประตู
แนวคิดของการพยาบาล
ความเป็นมนุษย์ เคารพ
สร้างสัมพันธภาพ
ผู้ป่วยจะมีการให้คุณค่ากับสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่เหมือนกัน
พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมองค์กรที่หลากหลา
นโยบายทางสังคม
ประเทศสิงคโปร์ จะมีแนวนโยบายที่ให้สิทธิกับผู้ย้ายถิ่นอย่างเท่าเทียม
กรอบแนวคิด
ด้านสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพ
ทางสังคม
ทางวัฒนธรรม
ค่านิยม
บรรทัดฐาน
ด้านบุคคล
ด้านสุขภาพ
มุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
สมรรถนะ
ความไวทางวัฒนธรรมองค์กร สำคัญมาก
จัดหาล่าม เพื่อ การสื่อสารอย่างเป็นระบบ
หลักการทั่วไป
1.วัฒนธรรม
2.การดูแล
3.การดูแลทางด้านวัฒนธรรม
4.การมองโลก
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
1)มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันเคารพในศักดิ์ศรี
2)มีความเข้าใจตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรม
3)มีทัศนคติด้านบวก
4)มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity)
รู้จักสังเกตค้นหาค่านิยมความเชื่อวิถีการดาเนิน
5)มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตร
6)สามารถสื่อสารที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้มีทักษะปฏิสัมพันธ์
7)ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่ง
8)ค้นหาแนวทางแก้ปัญหาเหมาะสม สอดคล้องวัฒนธรรม
9)บูรณาการความรู้ทางการพยาบาล
10)พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
11)ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกคนคำนึงกฎระเบียบและจรรยาบรรณ
12)สามารถรักษาลับเกี่ยวกับวัฒนธรรม
การประยุกต์ใช้ในกระบวนการพยาบาล
1.การประเมินผู้ป่วย
ดูข้อมูลดูวิถีชีวิต
แนวคิดความเชื่อของแต่ละบุคคล
2.การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
3.การวางแผนการพยาบาล
ความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ครอบครัว
การมีส่วนร่วม
4.การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล
คํานึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม
สนองตอบต่อค่านิยม
5.การประเมินผลหรือผลลัพธ์
ทําให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตายอย่างสงบ
ประเมิน
ใช้ผู้ป่วย
ครอบครัว
การยอมรับของกลุ่มชน