Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาฉีด - Coggle Diagram
การบริหารยาฉีด
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาฉีด
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย/หยุดยาก เนื่องจากมีประวัติ/รอยโรค
มีโอกาสเกิดการแพ้ยาจากอาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์
วางแผนการพยาบาล
บริหารยาตามแผนการรักษาของแพทย์การให้ยาต้องคำนึงถึงหลัก
6Rs (10 Rs)
ปฏิบัติการพยาบาล
ในขั้นการเตรียมอุปกรณ์ การเตรียมยาฉีด และการฉีดยาตามวิถีทาง
ต่างๆ ตำมแผนการพยาบาลที่วางไว้
การประเมินผล
ควรมีการประเมินผู้ป่วยภายหลังจากได้รับยาทุกครั้ง เพื่อป้องกัน
ภำวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
การได้รับยา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การแพ้ยา
ตำแหน่งและวิธีการฉีดยาบริเวณต่างๆ
ขั้นเตรียมการก่อนฉีดยา
ตรวจความพร้อมของเครื่องใช้
ถามชื่อ–สกุลของผู้ป่วยรวมถึงประวัติการแพ้ยา
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
เลือกบริเวณสําหรับฉีดยา ควรหลีกเลี่ยงการฉีดยาในบริเวณที่มีการอักเสบ ช้าบวม เป็นแผล มีก้อนแข็ง หรือเป็นอัมพาต
จัดท่าและเสื้อผ้าผู้ป่วยเปิดบริเวณที่จะฉีดยาให้กว้างพอหากเป็นบริเวณที่ไม่ควรเปิดเผยควรปิดประตูหรือกั้นม่าน
ล้างมือให้สะอาดสวมถุงมือ
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal injection)
วิธีการฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
ไล่อากาศออกจากกระบอกฉีดยาจนหมดก่อนฉีดยา
ผิวหนังให้ตึง
แทงเข็มทํามุม5-15องศา กับผิวหนัง
ไม่ต้องทดสอบว่าปลายตัดเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
สังเกตบริเวณที่ฉีดจะมีตุ่มนูนขึ้นมาถ้าไม่มีตุ่มนูนแสดงว่าฉีดลึกเข้าไปในชั้นใต้ผิวหนัง
ไม่ต้องคลึงบริเวณที่ฉีดยา
ใช้ปากกาลูกลื่นหมึกสีน้ําเงินหรือดํา เขียนรอบรอยนูนที่เกิดจากการฉีดยาและบอกผู้ป่วยไม่ให้ลบรอยหมึกที่เขียนไว้ จนกว่าจะอ่านผลเรียบร้อยแล้ว
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น dermis (ชั้นหนังแท้)
เพื่อให้เกิดผลเฉพาะที่
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutaneous injection)
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ตำแหน่งสำหรับฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
1) บริเวณต้นแขนส่วนกลางด้านนอก
2) บริเวณส่วนกลางของหน้าขา
3) บริเวณหน้าท้องที่อยู่ระหว่างแนวใต้ชายโครงกับแนวของ
anterior superior iliac spine
4) บริเวณสะบัก
ทำผิวหนังให้ตึงก่อนแทงเข็ม
การแทงเข็มถ้ำใช้เข็มยาว 5/8 นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 45 องศา ถ้ำใช้เข็มยาว ½นิ้ว ให้แทงเข็มทำมุม 90 องศา
การฉีด heparin ไม่ต้องทดสอบว่าปลายเข็มอยู่ในหลอดเลือดหรือไม่
การฉีด heparin และ insulin ห้ามคลึงบริเวณที่ฉีดยาแล้ว
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น
subcutaneous tissue
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมี
เลือดมาเลี้ยงมาก
การหาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
หาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)
หาตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก (Glutens muscle)
ตำแหน่งฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ Vastus lateralis (กล้ามเนื้อหน้าขา)
วิธีการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
1) ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณที่จะฉีดยาด้วยสำลีชุบ alcohol70%
3) ถอดปลายเข็มออก จับกระบอกฉีดยาตั้งขึ้น ไล่อากาศ
2) ถือกระบอกฉีดยาด้วยมือข้างถนัด ส่วนมือข้างไม่ถนัดทำผิวหนังบริเวณฉีดยาให้ตึง
4) แทงเข็มด้วยความเร็วและมั่นคง แทงเข็มทำมุม 90 องศา
10) ล้างมือให้สะอาด
9) จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เรียบร้อย และจัดให้อยู่ในท่าที่สบาย
5) ยึดหัวเข็มและกระบอกฉีดยาให้มั่นคง
6) เมื่อยาหมดให้ใช้สำลีกดตำแหน่งแทงเข็ม
8) ปลดเข็มออกจากกระบอกฉีดยา แยกเข็มฉีดยาทิ้งในชามรูปไต
7) คลึงบริเวณฉีดยาเบา ๆ เพื่อช่วยให้ยาดูดซึมได้เร็วขึ้นและลดอาการเจ็บปวด
การบรรเทาความเจ็บปวดจากการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
2) เข็มที่ใช้ฉีดยาจะต้องไม่มียาเคลือบอยู่ภายนอก
3) ใช้ Z-track technique ในการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
1) เลือกเข็มเบอร์เล็กที่สุดที่เหมาะสมกับชนิดของยา
และตำแหน่งที่จะฉีดยา
4) จัดท่่ให้ผู้ป่วยผ่อนคลำยที่สุด จะช่วยบรรเทาความเจ็บปวดและไม่สุขสบายลงได้
5) อย่ำฉีดยาบริเวณที่เนื้อเยื่อแข็งตัวหรือกดเจ็บ
6) แทงเข็มและดึงเข็มออกจากเนื้อเยื่ออย่างรวดเร็ว ในทิศทำงเดียวกัน
7) จับกระบอกฉีดยาให้อยู่กับที่ขณะฉีด
8) เดินยาช้ำๆ เพื่อให้ยากระจายไปรอบๆ เนื้อเยื่อได้ดี
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
อุปกรณ์สำหรับการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
ยาฉีด (Medication)
ยาที่บรรจุในขวดจะมีทั้งชนิดที่เป็นผงและยาน้ำ มีทั้งแบบ single dose และmultiple dose
ยาที่บรรจุในหลอดจะเป็นยาน้ำซึ่งใช้ฉีดครั้งเดียว (single dose)
เข็มฉีดยา
ส่วนมากทำจาก stainless steel
เป็นชนิดใช้ครั้งเดียว
(disposable)
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หัวเข็ม (hub) ตัวเข็ม (shaft) ปลยเข็ม (bevelor slanted tip)
การเลือกเข็มและกระบอกฉีดยาเพื่อใช้ในการฉีดยา
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์
ทางที่ให้ยาเข้าสู่ร่างกาย (route of administration)
ความหนืดของยา (viscosity of the solution)
ปริมาณของยาที่จะฉีด
ขนาดรูปร่างของผู้ป่วย
ชนิดของยา
วิธีการเตรียมยาฉีดชนิดต่างๆ
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุหลอด (Ampule)
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาน้ำบรรจุขวด (Vial)
วิธีเตรียมยาฉีดจากยาผงบรรจุขวด (วิธีละลายยา)
การคำนวณขนาดยา
การบริหารยาฉีดประกอบด้วย 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนการเตรียมยา
ขั้นตอนการฉีดยา