Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหานีโอพลาสม - Coggle Diagram
ปัญหานีโอพลาสม
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันใน เด็ก (Acute leukemia)
คือกลุ่มของโรคที่มีความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวที่มีการสร้างเม็ดเลือดขาวทั้งในรูปของตัวอ่อนและตัวแก่ออกมามากมายและควบคุมไม่ได้ทำให้มีจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนแทรกอยู่ในไขกระดูกและอวัยวะต่างๆ
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
Acute Myeloid Leukemia – AML
เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิลอยด์
พบได้ทุกช่วงอายุ แต่มักจะพบบ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ
Acute Lymphoblastic Leukemia – ALL
เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์
พบในผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้ป่วยสูงอายุอาจพบ ภาวะต่อมน้ำเหลืงโตร่วมด้วยได้มักการตอบสนองต่อการรักษาดีกว่า
สาเหตุ
รังสี
ยา
พันธุกรรม
ติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ซีด เลือดออก ปวดข้อหรือปวดกระดูก ตับ ม้าม และต่อม น้ำเหลืองมีขนาดโต มีก้อนที่คอหรือในท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC: พบ Hct ต่ำ, เกร็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวมักสูงเป็นหมื่นหรือแสนตัวต่อลบ.มม.
เจาะไขกระดูก
การรักษา
การให้เคมีบำบัด
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
การแก้ไขภาวะซีด ภาวะติดเชื้อ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Hodgkin’s disease)
เกิดจาก B cells ที่ผิดปกติ ส่วนพวก Lymphoma (NHL) มีต้นตอมาจากเซลล์ผิดปกติ ซึ่งอาจเป็น B หรือ T cells และ สามารถแยกจากกันได้โดยตัวชี้บ่งทางพันธุกรรม
ชนิดมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
Hodgkin’s Lymphoma (Hodgkin’s Disease, HL)
Lymphoma(non-Hodgkins’s Lymphoma หรือ NHLs)
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้ำเหลืองโต
ตับม้ามโต
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การรักษา
ผสมผสานระหว่างเคมีบำบัด รังสีรักษา และการปลูกถ่ายไขกระดูก
ยาเคมีบำบัดที่ได้ผลดี: Cyclophosphamide, Vincristine, เพรดนิโซโลน
ระยะของโรค
Stage I
เป็นที่ต่อมน้ำเหลืองต่อมเดียวหรือกลุ่มเดียว หรือเป็นเพียงแห่งเดียว ยกเว้นตับ ปอด ไขกระดูก
Stage II
เป็นต่อมน้ำเหลืองหลายกลุ่ม แต่ยังอยู่ด้านเดียวกันของกระบังลม
Stage III
เป็นต่อมน้ำเหลืองทั้งสองข้างของกระบังลม หรือเป็นที่ต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะอื่นๆ อีก 1 แห่ง
Stage IV
เป็นที่อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ทั้งในต่อมน้ำเหลือง และนอกต่อมน้ำเหลือง เช่น ตับ ปอด ไขกระดูก ระบบประสาทส่วนกลาง
มะเร็งที่ไต (Wilm’s tumor)
เนื้อไต มีการเจริญเติบโตผิดปกติ กลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง
ความดันโลหิตสูง
เบื่ออาหาร ปัสสาวะเป็นเลือด และมีอาการซีด
การรักษา
ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
ให้เคมีบำบัด
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งของโรค
ห้ามคลำท้อง
มะเร็งเนื้อเยื่อประสาท (Neuroblastoma)
ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน (neural crest) ซึ่งมีทั่วไปในร่างกาย แต่มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา (adrenal medulla)
อาการและอาการแสดง
อาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
ถ้ามีการแพร่กระจายของมะเร็งอาจมีตาโปน
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง ซีด อ่อนเพลีย ปวดกระดูก
การรักษา
การผ่าตัด
การให้รังสีรักษา หลังผ่าตัด
การให้ยาเคมีบัดบัด
อาการข้างเคียงของยาเคมีบำบัดที่พบบ่อย
คลื่นไส้อาเจียน
เบื่ออาหาร
ปากอักเสบ/แผลในปาก
ท้องผูก
การกดไขกระดูก
ผมร่วง
การปลูกถ่ายไขกระดูก