Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการเขียนรายงานการวิจัยส่วนเนื้อหา, นางสาวกันติยา จันทร์มณี …
หลักการเขียนรายงานการวิจัยส่วนเนื้อหา
บทที่ 1 บทนำ
1)ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
1.เกริ่นนำสภาพทั่วไป
2.ชี้ให้เห็นปัญหา
3.เสนอแนวทางแก้ไข
4.สรุปเหตุผลที่สำคัญในการเลือกใช้แนวทาง วิธีการ แนวคิดหรือทฤษฎีนั้น ๆ ในการศึกษาวิจัย
2) วัตถุประสงค์การวิจัย
1.ต้องเขียนให้เห็นประเด็นอย่างชัดเจน
2.เขียนเป็นรูปประโยคบอกเล่าหรือเขียนในเชิงของการเปรีบยเทียบหรือความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการศึกษา โดยหลีกเลี่ยงประโยคคำถาม
3.วัตถุประสงค์แต่ละข้อควรมีประเด็นการศึกษาเพียงประเด็นเดียว
4.มีความชัดเจนว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดที่อยู่ในกรอบแนวคิดการวิจัย
3) สมมติฐานการวิจัย
1.สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการวิจัย
2.ต้องตอบปัญหาได้ครอบคลุมปัญหาทุก ๆ ด้านที่ศึกษา
3.สามารถทดสอบด้วยข้อมูลและวิธีทางสถิติ
4.ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย รัดกุม
4) ขอบเขตการวิจัย
ต้องครอบคลุม 4 ด้าน
ด้านเนื้อหาหรือโครงสร้าง
ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ด้านตัวแปรที่ทำการศึกษา
ด้านระยะเวลาในการดำเนินงานวิจัย
5) นิยามศัพท์เฉพาะ
กล่าวถึงพฤติกรรมหรือวิธีการตามหัวข้อที่จะทำการวิจัยเพื่อแจ้งให้คนอ่านทราบว่าวิจัยครั้งนี้หมายถึงอะไร อย่างไร
6) ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
ควรเขียนให้เห็นว่าใครได้ประโยชน์จากงานวิจัยในครั้งนี้ และได้ประโยชน์อย่างไรโดยเขียนให้ชัดเจน และเรียงลำดับความสำคัญของผู้ได้รับประโยชน์สูงสุด ตามลำดับ
บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ส่วนที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ส่วนที่ 2 ขั้นตอนการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล คือจะแบ่งเป็นกี่ขั้นตอน จัดลำดับอย่างไร
ส่วนที่ 3 ผลวิเคราะห์ข้อมูล ถ้าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณมักจะเสนอในรูปแบบของตารางหรือกราฟ และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นจะต้องนำเสนออย่างเป็นระบบ โดยลำดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.เอกสารที่เกี่ยวข้อ
มักได้แก่ ทฤษฎีหรือหลักการที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่จะทำ ผู้วิจัยต้องค้นคว้าให้ได้มากพอสมควรช่วยให้การทำวิจัยมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
2.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คืองานวิจัย (ร่วมถึงการค้นคว้าอิสระ = Independent Study หรือวิทยานิพนธ์ = Dissertation) ที่มีคนทำไว้แล้ว และมีส่วนเกี่ยวพันธ์หรือหรือเกี่ยวข้องกับงานวิจัย
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/แหล่งข้อมูล
2.เครื่องมือในการวิจัย
3.การเก็บรวบรวมข้อมูล
4.การววิเคราะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลตามวัตถุประสงค์การวิจัย นำผลที่ได้อย่างย่อย ๆ การสรุปอาจเป็นความเรียงต่อ ๆ กันไป
ข้อควรคำนึกในการอภิปราย
ผลการวิเคราะห์ เมื่อนำมาเขียนไม่ต้องเขียนคำว่า "จากตาราง 1 พบว่า..."
ส่วนแสดงคว่มคิดเห็นถ้าไม่รู้ว่าจะเขียนอะไรให้นำมาเขียนเป็นแนวคิดของตัวเองไม่ต้องอ้างอิง
ทฤษฎีหรืองานวิจัย ถ้าเป็นงานวัยเชิงทดลองที่นำมาเสนอควรเป็นงานวิจัยที่มีตัวแปรต้น และตัวแปรตามเหมือนกัน ส่วนงานวิจัยเชิงสำรวจที่จะนำมาเสนอต้องมีตัวแปรที่ศึกษาเหมือนกัน
นางสาวกันติยา จันทร์มณี
นักศึกษาพยาบาลศาสตรชั้นปีที่ 3 รหัสนักศึกษา 612901008
อ้างอิง โสภิต สุวรรณเวลา. (2555). การวิจัยทางการพยาบาล. ตรัง : โครงการตำราวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง.