Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยากดระบบภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressive agents) - Coggle Diagram
ยากดระบบภูมิคุ้มกัน
(Immunosuppressive agents)
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แคลซินิวริน (Calcineurin inhibitors)
Cyclosporin A (CsA)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ calcineurin และยับยั้งIL-2 จาก T cell ส่งผลให้ T lymphocyteb activation ลดลง
การนำไปใช้ทางคลินิก ป้องกันและรักษา acute rejection ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไต ปอดและตับ
ผลข้างเคียง พิษต่อไต อาจทำให้แขนขาชาถ้าส่งผลต่อระบบประสาท มีขนดก เหงือกบวม
Tacrolimus (FK506®)
กลไกการออกฤทธิ์ เป็นยาใหม่กว่าCyclosporin และมีฤทธิ์แรงกว่าCyclosporin
การนำไปใช้ในคลินิก ใช้แทนCyclosporin ในการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอัวยวะ เนื่องจากมีผลข้างเคียงน้อยกว่า
ผลข้างเคียง ไม่ทำให้เหงือกบวมและขนดก อาจพบผมร่วงได้ ปวดศีรษะ สั่น
กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์ Cytotoxic agents
Azathioprine (Imuran®)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสร้าง DNA RNA Protein ของเซลล์มะเร็ง ยับยั้งการสร้าง purine
การนำไปใช้ในการรักษาทางคลินิก Acute graft rejection จากการปลูกถ่ายไตและตับ แบบtriple therapy โรคภูมิคุ้มกันต้านตัวเอง
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก ทำใหhเม็ดเลือดขาวหรือเกร็ดเลือดต่ำ
คลื่นไส้, อาเจียน
อาจมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เพลีย
Mycophenolate mofetil (MMF)
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการแบ่งตัวของBและ T lymphocytes ยับยั้งการสร้างDNA RNA
การนำไปใช้รักษาใรคลินิก รักษา Acute graft rejection จากการปลูกถ่ายอวัยวะ
ผลข้างเคียง กดไขกระดูก, เม็ดเลือดขาวต่ำ, เสี่ยงต่อการติดเชื้อ,อาจมีผื่น
Sirolimus หรือEverolimus
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการเจริญและแบ่งตัวของTcell ยับยั้งการตอบสนองของT cell ต่อIL-2 ยับยั้งmTOR ทำให้เซลล์ไม่มีการแบ่งตัวและตายในที่สุด
การนำไปใช้รักษาในคลินิก รักษาและป้องกันการปฏิเสธการปลูกถ่ายอัวยวะเฉียบพลัน
ผลข้างเคียง กดไขกระดูก เกร็ดเลือดและเม็ดเลือดขาวต่ำ ซีด มีฌพแทสเซียมต่ำในเลือด
Leflunomide
กลไกการออกฤทธิ์ ยาจะไปยับยั้งการสังเคราะห์pyrimidine ทำให้การสังเคราะห์และการสร้างDNA RNA ทำให้มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและต้านการเจริญเติบโตของเซลล์
การนำไปใช้รักษาในคลินิก รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ผลข้างเคียง พิษต่อตับ พิษต่อไต ต่อทารกในครรภ์ มีการกดไขกระดูก ทำให้เกร็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวต่ำ ทำให้ติดเชื้อง่าย
กลุ่มอดรีโนคอร์ติคอยด์ (Adrenocorticoids)
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับsteroid receptor ภายในเซลล์ มีผลยับยั้งการสร้างmRNA ของโปรตีนและยับยั้งการสร้างcytokine ต่าง ๆ
กดการทำงานของเซลลVmacrophage, T และ B lymphocyte
ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลลVlymphocyte
ทำให้ lymphocyte ในเลือดลดลง
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ใช้กดอาการแสดงของโรคภูมิคุ้มกันSLE
ป้องกันและรักษาTransplant rejection, GVHD ในการปลูกถ่ายไขกระดูก
ผลข้างเคียง
ขึ้นกับขนาดและระยะเวลาในการใช้ยา เพื่อลดผลข้างเคียง
ควรใช้ร่วมกับยาอื่น
น้ำหนักตัวอาจเพิ่มขึ้น หน้ากลมคล้านรูปพระจันทร์ ติดเชื้อง่าย
อาจมีอารมณ์แปรปรวนง่าย
เยื่อบุกระเพาะอาหารบางลง และ เพิ่มการหลั่งกรดใรกระเพาะอาหาร
ภาวะร่างกายเป็นกรด คลื่นไส้อาเจียน ขนดก ผื่นคัน ภาวะกระดูกพรุน
กลุ่มสารยับยั้ง Cytokines (Cytokines inhibitors)
Anti-IL-2 receptor antibody ได้แก่ยา Daclizumab, Basiliximab
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการกระตุ้น lymphocyte ด้วย IL-2 ที่เป็นpathway ที่ทำให้เกิดการปฏิเสธการปลูกถ่ายอัวยวะแบบเฉียบพลัน
การนำไปรักษาทางคลินิก ป้องกันAcute graft rejection จากการปลูกถ่ายไต(ใช้ร่วมกับยาcyclosporineและcorticosteroids)
ผลข้างเคียง อาจพบอาการแพ้ยาได้( hypersensitivity reaction)
Anti-CD2 ได้แก่ ยาAlefacept
กลไกการออกฤทธิ์ ยาออกฤทธิ์โดยจับกับCD 2บนผิวT cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการกระตุ้น และการเกิดการทำลายT cell ทำให้จำนวนT Cell ในกระแสเลือดลดลง
การนำไปใช้รักษาในคลินิก ใช้รักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน
ผลข้างเคียง อาจพบอาการ ไข้ หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ ติดเชื้อได้ง่าย ห้ามใช้ในผู้ป่วย HIV
Anti-IgE mAbs ได้แก่ ยาOmalizumab
ยาปิดกั้นการจับของIgE กับFc receptor ทำให้ลดการหลั่งIgE-mediated hypersensitivity reaction type Iส่งผลให้ลดการเกิด การอักเสบ ทำให้การแบ่งตัวและสร้าง cancer cell ลดลง
ใช้รักษาโรคหอบหืดที่เกิดจากภูมิแพ้ ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการใช้ยากลุ่มSteroid
ผลข้างเคียง อาจเกิดAnaphylactic reaction หลังรับยา 2 ชั่วโมง อาจปวดศรีษะ เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น
Anti-TNF-α antibody ได้แก่ ยาAdalimumab, Infliximab, Golimumab, Certolizumab pegol
การนำไปใช้รักษาในคลินิก ใช้รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ร่วมกับยา Methothexate ใช้รักษาCrohn's disease กรณีไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาอื่น
ผลข้างเคียง อาจเกิดAnaphylactic reaction อาจทำให้เกิดมะเร็งได้ ปวดศรีษะ
กลไกการออกฤทธิ์ เหนี่ยงนำให้เกิดการอักเสบได้
ATG และ ALG ได้แก่ ยาLymphoglobulin, Thymoglobulin
กลไกการออกฤทธิ์ ยาจับกับโมเลกุลบนผิวT cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการกระตุ้นและการเกิดการทำลาย T cell ทำให้ T cell ลดลงอย่างมาก
การนำไปใช้รักษาใรคลินิก ใช้รักษาภาวะปฏิเสธการปลูกถ่ายไตแบบเฉียบพลัน ในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ใช้รักษาโรคไขกระดูกฝ่อ (aplastic anemia)
ผลข้างเคียง มักมีไข้ หนาวสั่น ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ เป็นตุ่มเป็นต่ามตามผิวหนังและปวดข้อ เกล็ดเลือดต่ำ