Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความหมาย
เป็นแนวทางที่จะได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ ที่จะช่วยอธิบายถึงความแตกต่างของวิถีชีวิตท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์
สังคมมีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการเช่น มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดน การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและโครงสร้างทางสังคมอย่างรวดเร็ว
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ย่อมจะต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม และ การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ
มีนโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆมากขึ้น
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพเพื่อให้ทันและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
รูปแบบบริการที่มีอยู่ จึงต้องมีหลายรูปแบบหรือมีการปรับเปลี่ยนทั้งในแนวคิด วิธีการ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
ความสำคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
เรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดารงตาแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆเพิ่มขึ้น ประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน
ประชาชนสามารถเรียกร้องตามสิทธิของผู้ป่วยในการรับบริการในสถานบริการ
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสาร และ ประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
มีการวิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล
เพื่อให้การตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมนั้น
เป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่าและการปฏิบัติ โดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ผู้ให้บริการจะต้องมีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับประโยชน์สูงสุดและรู้สึกพึงพอใจในการเข้ารับบริการ
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐานที่สภาการพยาบาลกาหนดร่วมกับการนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการมาวางแผน การพยาบาล
แนวคิดสำคัญที่สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
มีความไวในการรับรู้ความ แตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
การผสมผสานของแนวคิดการพยาบาลแบบองค์รวมกับแนวคิดมนุษยวิทยา
กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ คือ
ด้านบุคคล
ด้านสุขภาพ
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
สิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ค่านิยม
บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ด้านการพยาบาล
มุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม
เน้นการให้อิสระ
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม
เน้นความเป็นมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
เน้นความเป็นพลวัตร
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่มีสังคมวัฒนธรรมแตกต่าง
ชาติพันธ์
บทบาท
เชื้อชาติ
เพศ
ชนชั้นทางสังคม
ความสัมพันธ์เชิงอานาจในสถาบันหรือองค์กร
มีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม
แนวคิดมนุษยนิยม
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม
ความเป็นอิสระมีเสรีภาพ
การเคารพนับถือ
ให้คุณค่าของมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
แนวคิดปฏิฐานนิยม
เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม
การเข้าใจ บริบทของ กลุ่มผู้ใช้บริการ
วิธีการเข้าถึง กลุ่ม ผู้ใช้บริการ
ตัวอย่าง การดูแลผู้ใช้บริการที่นับถือศาสนาอิสลาม
ใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสม เช่น ก๊ะม๊ะ
กเลี่ยงการใช้ภาษากลางหรือศัพท์ทางวิชาการ ที่ขัดต่อความเชื่อ
ลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฏอนหรือถือศีลอด
เลือกบุคคลและวิธีการที่เป็นธรรมชาติ
(เยี่ยมถึงเตียง ไปถึงบ้าน มากกว่า นัดมาพบ)
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่
เน้นความเป็นส่วนบุคคลมากกว่าแบบกลุ่ม
สังคมแบบรวมกลุ่ม
เน้นความเป็นองค์รวม
เน้นกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
แนวนโยบายของประเทศ
หลักการ 6 ประการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.การดูแลทางด้านวัฒนธรรมคือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง เพิ่มความสามารถ ปรับปรุงสภาพการณ์ส่วนบุคคล ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
4.การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม
2.การดูแล คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือ สนับสนุนเพิ่มความสามารถ
5.ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรม
1.วัฒนธรรมคือการให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจาวันของกลุ่มชน เกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม เป็นลักษณะเฉพาะ
6.การจัดกิจกรรมพยาบาล
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือ ช่วยเหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจง
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้เข้ากับแบบแผนชีวิตใหม่ที่แปลกแตกต่าง
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือ ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจงเพื่อดำรงไว้ซึ่งสุขภาพหายจากการเจ็บป่วย และเผชิญความตาย
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
พยาบาลต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง จะพิจารณาถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ ความเข้าใจภาษาตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนร่วมด้วย
กระบวนการพยาบาลกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาล
เป็นการดูแลเพื่อแก้ปัญหา
มุ่งผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลต้องมีความเข้าใจในคุณค่าที่เฉพาะเจาะจง
ความเชื่อ
การปฏิบัติที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
กระบวนการพยาบาล
การประเมินทางการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการการวางแผนให้พยาบาล
การประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมนั้นผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถ
ได้แก่
6) สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้ มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่ดี
7) ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
5) มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
8) สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม และสอดคล้องตามวัฒนธรรม
4) มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity)
9) บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
3) มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ
10) พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
2) มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมความเชื่อและพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
11) ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
1) มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
12) สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
อธิบายได้ ดังนี้
การวางแผนการพยาบาล ให้กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล ควรคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การประเมินผู้ป่วย ดูข้อมูล ดูวิถีชีวิต และแนวคิด ความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก