Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ย่อมจะต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม( Cross cultural study)หรือการศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter - cultural study)
เป็นแนวทางหนึ่งที่จะได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ที่จะช่วยอธิบายถึงความแตกต่างของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของ สังคมเหล่านั้น ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์
สังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการเช่น มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้พรมแดนการเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและโครงสร้างทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมี การย้ายถิ่นของคนเข้ามาประกอบอาชีพและการรับบริการทางด้านสาธารณสุขของชาวต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
นโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆ มากขึ้น ดังนั้น การดูแลประชาชนใน สังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมจึงมีความสําคัญและเป็นความท้าทายของพยาบาลในปัจจุบันและ อนาคต
มีการเตรียมรับสถานการณ์ด้านสุขภาพเพื่อให้ทันและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของการบริการแก่ผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรมได้
รูปแบบบริการที่มีอยู่ จึงต้องมีหลายรูปแบบหรือมีการปรับเปลี่ยนทั้งในแนวคิด วิธีการ จำเป็นต้องอาสัยองค์ความรู้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วิเคราะห์พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการทางการพยาบาล ค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและแบบแผนของพฤติกรรมต่างๆของคนในเชื้อชาติหรือวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
เพื่อการตอบสนองที่สอดคล้องกับความต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรม
เน้นการให้คุณค่าแลการปฏิบัติ โดยการเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม
ผู้ให้บริการต้องมีความไวในการรับรู้และให้การพยาบาลที่เหมาะสม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
ความสำคัญของวัฒนธรรมต่อระบบบริการสุขภาพ
ความเท่าเทียมในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายญิงเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
การประสิทธิของผู้ป่วย
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน โดยเฉพาะการปฏิรูประบบสุขภาพระดับ ปฐมภูมิที่ต้องการใช้แนวคิดใกล้บ้าน ใกล้ใจ ในการให้บริการจึงทําให้พยาบาลชุมชนผู้ซึ่งรับผิดชอบ การให้บริการระดับปฐมภูมิต้องปรับวิธีคิดและกระบวนการทำงานในชุมชน ในการเพิ่มมิติทางสังคมวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น เพื่อให้เกิดภาพการบริการที่ตรงตามสภาพ ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม
จัดระบบการให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมจึงความสําคัญต่อ ระบบบริการสุขภาพ
การรณรงค์เกี่ยวกับเพศสภาวะและการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิงมีการเคลื่อนไหวเพื่อ เรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดํารงตําแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคมและประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย
การยอมรับนับถือการมีคุณค่าศักดิ์ศรีของชีวิตมนุษย์ความเชื่อวิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคลและ สิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการประกาศสิทธิของผู้ป่วย
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบสุขภาพระดับปฐมภูมิที่ต้องการใช้แนวคิด ใกล้บ้าน ใกล้ใจ ในการให้บริการจึงทําให้พยาบาลชุมชนผู้ซึ่งรับผิดชอบ การให้บริการระดับปฐมภูมิต้องปรับวิธีคิด และกระบวนการทำงานในชุมชน ในการเพิ่มมิติทาง สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น
ประชากรทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆเพิ่มขึ้นประชาชน สามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี จึงส่งผลให้สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการให้บริการ เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นการพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์สิ่ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม สามารสร้างความสมดุลกลมกลืนให้มนุษย์ได้
สมรรถนะที่จำเป็นในการพยาบาลในความหลากหลายทางวัฒนธรรม คือ พยาบาลมีการมีความไวทางวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดร่วมสมัย ทีจะสะท้อนถึงการให้กาพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
องค์กรมีความไวทางวัฒนธรรม เช่น จัดหาล่าม อบรมเกี่ยวข้องกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้บุคลากร มีป้ายหรือสัญลักษณ์หลายภาษา
สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐานร่วมกับการนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
มีความไวในการรับรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้บริการ
แนวคิดการพยาบาลแบบองค์รวม
ด้านบุคคล ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดําเนินชีวิต และพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล ควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และ สิ่งแวดล้อมที่เป็น สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม เช่น ค่านิยม บรรทัดฐานของแต่ละบุคคล
การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษยนิยม เน้นการให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์ เน้นความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ การเคารพนับถือและให้คุรค่าของมนุษย์โดยยึดหลักจริยะรรมเป็นหัวใจสำคัญของคุณภาพในการดูแลสุขภาพ
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม เน้นความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม
แนวคิดมนุษยนิยม เน้นความเสมอภาคเเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ การเคารพนับถือและให้คุณค่าของมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ตัวอย่าง: เชื้อชาติ ชาติพันธ์ บทบาทเพศ ชนชั้นทางสังคมและความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสถาบันหรือองคืกรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือประชากร
แนวคิดปฏิฐานนิยม การแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมที่พบบ่อยและควรคำนึง
การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
วิธีการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
ตัวอย่างความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมที่พึงตระหนักเมื่อต้องให้การดูแลผู้ใช้บริการที่นับถือศาสนาอิสลาม
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษษกลลางหรือศัพท์ทางวิชาการที่ขัดต่อความเชื่อ เลี่ยงการใช้คำว่า การคุมกำเนิด การทำหมันแต่ใช้คำว่า เว้นช่วงการมีลูก
หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฏอนหรือศีลอด
การใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสม เช่น ก๊ะ ม๊ะ ไม่ใช่ ป้า แม่
เลือกบุคคลและวิธีการที่เป็นธรรมชาติ(เยี่ยมถึงเตีย ไปถึงบ้าน มากกว่านัดมาพบ)
ตัวอย่างความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมที่พึงตระหนักเมื่อต้องให้การดูแลผู้ใช้บริการชาวมอญ
มีความเชื่อในการอธิบายโรคเรื้อรังไม่หายว่ามีสาเหตุจากอำนาจนอกเหนือธรรมชาติเป็นหลัก เช่น เรื่องผี โชคชะตา บุญกรรม
ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นที่พึ่งหลักของการดำเนินชีวิตและกลไกแห่งการเชื่อมร้อยคน
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองและสมาชิกครอบครัว นิยมซื้อยารับประทานเองและพึ่งยาพื้นบานเป็นหลัก
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
สังคมแบบรวมกลุ่ม เน้นความเป็นแงค์รวมหรือกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่ เน้นความเป็นส่วนบุคคลมากกว่าแบบกลุ่ม
แนวนโยบายของประเทศ
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดร่วมสมัย
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นการพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
สมรรถนะที่จำเป็นในการพยาบาล
สะท้อนถึงการให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนยก์ลาง
แนวคิดของConsent form การยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าว
หลักการ 6ประการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การดูแลทางด้านวัฒนธรรม คือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง เพิ่มความสามารถ ปรับปรุง สภาพการณ์ส่วนบุคคล การเผชิญความตาย ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของ พยาบาล
การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคมเช่นศาสนาเศรษฐกิจและ การศึกษา ซึ่งให้ความหมายและระเบียบวัฒนธรรมแก่กลุ่มชน
การดูแล คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือสนับสนุนเพิ่มความสามารถเกิดการพัฒนาเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของชีวิตแตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสําคัญกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ การให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจําวันของกลุ่มชน เรียนรู้สืบต่อกัน เกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม เป็นลักษณะเฉพาะ
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม คือ ช่วยเหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่เฉพาะเจาะจง
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม คือ ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้ เข้ากับแบบแผนชีวิตใหม่ที่แปลกแตกต่าง
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม คือ ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในวัฒนธรรมที่เฉพาะเพื่อ ดํารงไว้ซึ่งสุขภาพ หายจากการเจ็บป่วยและเผชิญความตาย
การประยุกต์ใช้การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมในกระบวนการพยาบาล
Nursing diagnosis วินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
Nursing care plan วางแผนการพยาบาล กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัวและเน้นการมีส่วนร่วม
Nursing Assessemnt ประเมินข้อมูล ดูวิถีชีวิต แนวคิดและความเชื่อของแต่ละบคคลเป็นหลัก
Nursing care ปฏิบัติการพยาบาล การดูแล ควรคำนึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและสนองตอบต่อค่านิยมหรือไม่แตกต่างมาก
Nursing evaluation ประเมินผล ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ทำให้สุขภาพดี หายจากโรคหรือตายอย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วยครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
คุณลักษณะ 12 ประการของพยาบาลที่จะดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่มีหลากหลายทางวัฒนธรรม
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งให้กับผู้ใช้บริการได้
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม
สามารสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้ มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรม
มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
มีทัศนคติด้านบวก
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม โดยคำนึงกฎระเบียบและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้เกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา เชื้อชาติ เพศและพฤติกรรมต่างๆของผู้ใช้บริการ
มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดำเนินชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยซึ่งสะท้อนแนวคิดด้านวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
การประยกุต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาลให้กระทําตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมครอบครัว และเน้นการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแลควรคํานึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรมและสนองตอบต่อ ค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
ารประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะทําให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตาย อย่างสงบ ประเมินโดย ใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
การประเมินผู้ป่วยดูข้อมูล ดูวิถีชีวิต และแนวคิดความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก