Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มะเร็งเต้านม - Coggle Diagram
มะเร็งเต้านม
ขั้นตอน/กระบวนการการสอบสวนทางวิทยาการระบาด
ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (establish the existence of an outbreak)
ประชาชนทุกคนไม่สามารถรับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้ านมด้ วยแมมโมแกรมตามสิทธิการรักษาขันพื้นฐานทีตนเองมีได้
อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งเต้านมในสตรีไทยเพิ่มขึ้นทุกปีเป็นเวลาต่อเนื่องกันมากกว่า 10 ปี ทังในระดับภาพรวมทั้งประเทศและ ในระดับภูมิภาค
ในปีพ.ศ. 2557 พบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ประมาณ 232,670 ราย
มะเร็งเต้านมีอุบัติการณ์มากที่สุด
ผู้ป่วยส่วนมากมักพบโรคในช่วงอายุ45 - 50 ปีเมื่อเริ่มินิจฉัยพบว่าร้อยละ 80 เป็นมะเร็งในระยะแรก
ปีพ.ศ. 2554 พบมะเร็งเต้านมระยะที่ 1 - 2ร้อยละ 63.8
มะเร็งเต้านมระยะที่สามร้อยละ 23.9
มะเร็งเต้านมระยะที่สี่ร้อยละ 8.8 เมื่อเปรียบเทียบ
มะเร็งเต้านมในประเทศตะวันตกและประเทศตะวันออก
การกำหนดนิยามและค้นหาผู้ป่วย(establish case definition)
การค้นหาเชิงรับ (passive case detection)
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง
การคัดกรองด้วยการตรวจแมมโมแกรม
การค้นหาเชิงรุก (active case detection)
การตรวจคัดกรองโดยบุคลากรสาธารณสุข
(CBE)
การตรวจเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม
(Mammography)
การตรวจเต้านมด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography)
การตรวจด้วยรังสีคลื่นแม่เหล็กเต้านม (Magnetic
resonance imaging breast, MRI breast)
รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology)
ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล
พบในผู้หญิงอายุมากกว่า 40 ปี
ผู้หญิงมีโอกาศเกิดโรคมะเร็งเต้านมมากกว่าผู้ชาย 100 เท่า
ผู้หญิงที่มีประวัติใช้ยาฮอร์โมนทดแทนในวัยที่หมดประจำเดือนหรือใช้ยาคุมกำเนิดเป็นระยะเวลานาน
นี้ผู้หญิงที่อ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกินมาตรฐาน
การสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
โภชนาการ การออกกำลังกาย การงดสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ศึกษาสภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(environmental investigation)
ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
สภาพแวดล้อม
สภาพความเป็นอยู่ที่ดี
การดำเนินชีวิตประจำวัน
การเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการรับประทานอาหาร
อุบัติการณ์มะเร็งเต้านม
พบมากในประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งในทวีปอเมริกายุโรปและออสเตรเลย โดยพบมากกว่าประเทศที่พัฒนาน้อยกว่า และ ญี่ปุ่น 5 เท่า
การพัฒนาในเรื่องของทะเบียนข้อมูลผู้ป่วยมะเร็ง และความก้าวหน้าเกี่ยวกับการสวินิจฉัยมะเร็งเต้านม
ดำเนินการควบคุมและป้องกัน (implement control and prevention measure)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การงดดืมแอลกอฮอล์
การงดสูบบุหรี่
เอาใจใส่ดูแลควบคุมน้ำหนักอย่างดี ไม่ให้
เกินมาตรฐานหรืออ้วน
ออกกำลังกายเป็นประจำ สม่ำเสมอเพื่อช่วย
ลดการเกิดภาวะอ้วนหรือน้ำหนักเกินมาตรฐาน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีแคลอรี่และไขมันสูงโดย
เฉพาะไขมันที่อิ่มตัว
หลีกเลี่ยงการได้รับฮอร์โมนเพศหญิง เช่นเอสโตรเจนจากสิ่งแวดล้อมจำพวกยาที่มีส่วนประกอบของเอสโตรเจน ฮอรโมน ออาหาร
หมั่นตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมด้านให้ความรู้และทักษะ
การจัดอบรม
ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
พัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจําหมู่บ้าน/แกนนําสตรี
สร้างแรงจูงใจในสตรีกลุ่มเป้ าหมายให้เข้าร่วมโครงการ
ติดตามประเมินทักษะการตรวจเต้านม
ความสมํ่าเสมอในการตรวจเต้านมด้ วยตนเองของสตรีกลุ่มเป้าหมายทุกเดือน
กิจกรรมเพื่อพัฒนาระบบสื่อสาร/
ประชาสัมพันธ์
การสร้างทีมประชาสัมพันธ์ระดับ
หมู่บ้าน/ตําบล/อําเภอ/จังหวัด
การพัฒนา/ปรับปรุงสื่อสนับสนุน
แผนงานด้ านการป้องกันมะเร็งเต้านมในชุมชนในระดับจังหวัดยังครอบคลุมไปถึงกิจกรรมอื่นของสตรีกลุ่มเป้าหมาย
สตรีที่ทํางาน
ในโรงงาน พนักงานบริษัท
การเตรียมการก่อนการสอบสวน(preparation prior to investigation)
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมที่เป็นแบบการตรวจคัดกรองในประชากรจำนวนมาก (mass screening)
ผู้หญิงที่มีอายุ 40 - 69 ุ ปีและไม่มีอาการ
ตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำ
ควรได้รับการตรวจโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการ
แพทยท์ ได้รับการฝึกอบรมทุก 1 ปี
ผู้หญิงที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
ได้รับการสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่ถูกวิธี
ตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง
ควรจะต้องได้รับการบอกถึงประโยชน์และข้อจำกัดของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ผู้หญิงที่มีอายุ 70 ปีขึ้นไป
การตรวจด้วยการเอกซเรย์เต้านม
ตรวจคัดกรองในผู้หญิงกลุ่มนี้ให้พิจารณาเป็นรายบุคคล
สำหรบการตรวจคัดกรองที่เป็นแบบการตรวจคัดกรองในประชากรทั่วไป (volunteer screening)
ผู้หญิงที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
ตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง
ควรจะต้องได้รับการบอกถึงประโยชน์และข้อจำกัดของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ได้รับการสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่ถูกวิธี
มีการตรวจโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรม อย่างน้องทุก 3 ปี
กลุ่มเสี่ยง (high risk)
มีประวัติญาติสายตรง ที่เป็นมะเร็งเต้านม หรือมะเร็งรังไข่
ผู้ที่มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านม (invasive canceror ductal carcinoma in situ)
ผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายแสงบริเวณหน้าอก
ผู้ที่มีประวัติทำ breast biopsy
ผู้ที่ได้รับประทานฮอร์โมนเสริมทดแทนวัยหมด
ประจำเดือนเป็นประจำเกิน 5 ปี
ผู้หญิงที่มีอายุ 40 - 69 ุ ปีและไม่มีอาการ
การตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำ
ควรตรวจโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
ตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม ทุก 1 – 2 ปี
การตรวจเต้านมด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography
ยืนยันการวินิจฉัยโรค (case confirmation / verifying diagnosis)
การตรวจเต้านมโดยแพทย์ที่เชี่ยวชาญ (Clinical
Breast Examination: CBE)
การตรวจเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม
(Mammography)
อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเต้านมในผู้หญิงอายุ 39 - 49 ปี ได้ร้อยละ 15, อายุ 50 - 59 ปีได้ร้อยละ 14 และอายุ 60 - 69 ปี ได้ร้อยละ 32
ประเทศไทยยังไม่มีการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้ านมด้ วยแมมโมแกรมแบบระบบ (organized screening mammogram)
กระบวนการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด
การจัดเก็บข้อมูล (Data collection and consolidation)
การรายงานตามความสมัครใจ (voluntary notification)
อาการของโรคที่ผิดปกติ
คลำพบก้อนที่เต้านม
อาการปวด กดเจ้บบริเวณก้อน
หัวนมผิดรูป บุ๋ม เมื่อก่อนมีขนาดโตขึ้น
โรคกระจายไปที่บริเวณใกล้เคียงก็จะพบก้อนที่
บริเวณรักแร้ ที่คอ
อาการที่ไม่เฉพาะ
เจาะจง
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลดลง
การสอบสวนโรค
ลักษณะการเกิดโรค
มีการเปลี่ยนแปลงเป็น ductal hyperplasia หรือ lobular hyperplasia
เปลื่ยนเป็นก้อนเนื้องอกdysplasia
เปลียนเป็นก้อนมะเร็งระยะที่ไม่ลุกลามductal/ lobular carcinoma in situ
ท้ายสุดจึงเปลี่ยนแปลงเป็น invasive ductal/lobular carcinoma
การประเมินปัจจัยเสี่ยง
ผู้หญิงที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมในครอบครัวเช่น hereditary breast and ovarian syndrome, LiFraumeni syndrome, Cowden syndrome
ผู้หญิงที่มีประวัติเคยได้รับการฉายรังสีรักษาบริเวณหน้าอกในบริมาณมากในช่วงวัยเด็ก
ผู้หญิงที่มีบุตรคนแรกอายุมากกว่า 35 ปีหรือผู้หญิงที่ไม่มีบุตร
ผู้หญิงที่อายุมากกว่า 40 ปี
ผู้หญิงที่เริ่มมีประจำเดือนอายุน้อยกว่า 12 ปีหรือผู้หญิงที่หมดประจำเดือนอายุมากกว่า 55 ปี
ผู้หญิงที่มีประวัติก้อนเต้านมทั้งชนิด atypical ductal/
lobular hyperplasia
ผู้หญิงที่มีประวัติใช้ยาฮอร์โมนทดแทนในวัยที่หมดประจำเดือนหรือใช้ยาคุมกำเนิดเป็นระยะเวลานาน
การสำรวจโรค
ปัยจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง มีความสัมพันธ์กับระดับฮอร์เพศหญิงที่เพิ่มมากขึ้น พันธุกรรมและสภาวะแวดล้อม
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis)
descriptive study
ผู้หญิงที่อายุมากกว่า 40 ปี
ผู้หญิงที่มีบุตรคนแรกอายุมากกว่า 35 ปีหรือผู้หญิงที่ไม่มีบุตร
analytic study
ผู้หญิงที่อ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกิน
มาตรฐาน
ผู้หญิงวัยหลังหมดประจำเดือน
ผู้ที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย
ผู้ที่รับประทานอาหารที่มี
แคลอรี่หรือไขมันสูงเป็นประจำ
ผู้ที่สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล
ผู้หญิงที่เริ่มมีประจำเดือนอายุน้อยกว่า 12 ปีหรือผู้หญิงที่หมดประจำเดือนอายุมากกว่า 55 ปี
ผู้หญิงที่มีประวัติใช้ยาฮอร์โมนทดแทนในวัยที่หมดประจำเดือนหรือใช้ยาคุมกำเนิดเป็นระยะเวลานาน
ผู้หญิงที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมในครอบครัวเช่น hereditary breast and ovarian syndrome, LiFraumeni syndrome, Cowden syndrome
ผู้หญิงที่มีประวัติเคยได้รับการฉายรังสีรักษาบริเวณหน้าอกในบริมาณมากในช่วงวัยเด็ก
การแปลผลข้อมูล (Interpretation)
ประเทศไทยพบมากในช่วงอายุ 45 - 50 ปีเมื่อเริ่ม วินิจฉัยพบว่าร้อยละ 80 เป็นมะเร็งในระยะแรก ร้อยละ 10 เป็นมะเร็งในระยะกระจาย และจากการตรวจคัดกรองที่มากขึ้นนในปัจจุบัน
สภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงในเรื่องของการรับประทานอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวัน และสภาพแวดล้อมที่เป็นการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงสำคัญของกสนเกิดโรคมะเร็งเต้านม
การเผยแพร่ข้อมูล หรือการให้ข้อมูลย้อนกลับและการสื่อสารผลการเฝ้าระวัง (Feedback and dissemination)
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Breast SelfExamination: BSE)
กระตุ้นให้ผู้หญิงตระหนัก ใส่ใจ เฝ้าระวังความผิดปกติที่อาจพบ
การตรวจเต้านมโดยแพทย์ที่เชี่ยวชาญ (Clinical
Breast Examination: CBE)
การศึกษาส่วนมากมักใช้วิธีนี้ร่วมกับการถ่าย การศึกษาที่เปรียบเทียบโดยตรงระหว่างการตรวจเต้านม โดยแพทย์กับไม่มีการตรวจคัดกรอง
การตรวจเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม
(Mammography)
สามารถลดอตราตายจากมะเร็งเต้านมในผู้หญิงอายุ 50 - 69 ปีได้แต่ในผู้หญิงที่มีอายุ 40 - 49 ปี
องค์ประกอบการเฝ้าระวังใน5 กลุ่มโรค 5 มิติ
หลักการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ5 มิติ
1)ปัจจัยต้นเหตุหรือปัจจัยก าหนดสุขภาพ (Determinant)
การเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุ
เทคโนโลยีที่เป็นความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อ
การเข้าไม่ถึงสถานบริการของประชากรกลุ่มเสี่ยง
การคัดกรองปัจจัยเสี่ยง และการคัดกรองโรคในระยะแรกและการได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
2)พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยง (Behavioral risk)
ปัจจัยเสี่ยงทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ (Behavioral risk factors)
การเฝ้าระวังเกี่ยวกับความชุกของการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ และการบริโภคอาหารเกินค่ามาตรฐานต่อวัน โดยเฉพาะอาหารหวาน มันและเค็ม
ปัจจัยเสี่ยงด้านชีวภาพ (Biological risk factors)
เฝ้าระวังความชุกของภาวะน้ าหนักเกิน ภาวะอ้วน ระดับไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูงกว่าปกติ (Prehypertension) และระดับน้ าตาลสูงกว่าปกติ (Prediabetes)
พฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพเพื่อการควบคุมป้องกันโรค(Health service utilization behavior)
ดูจากพฤติกรรมการใส่ใจตนเองของประชาชน ซึ่งประเมินจากการเข้าถึงบริการสุขภาพ เช่น การไปตรวจร่างกายประจ าปี การเข้ารับการคัดกรองโรค
3)การป่วย/การตาย ( Morbidity/ Mortality) หรือผลลัพธ์ทางสุขภาพ(Health outcome)
การเฝ้าระวังการป่วยและภาวะแทรกซ้อนของ ภาวะเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง
การเฝ้าระวังอัตราการตายก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ส าคัญ
4)เหตุการณ์ผิดปกติ (Abnormal event and outbreak)
การเพิ่มขึ้นของการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อรายโรค เช่น การเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้ป่วย การเพิ่มขึ้นของจ านวนครั้งที่เข้ารับการรักษาพยาบาล การเพิ่มขึ้นของจ านวนวันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหรือระยะเวลาที่อยู่โรงพยาบาลนานขึ้น
5)การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program response)
การมีส่วนร่วมในนโยบายทั้งเชิงโครงสร้างและการจัดการเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงหรือส่งเสริมสุขภาพระดับประชากร และ/หรือกลุ่มเสี่ยง