Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
ต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม (Cross cultural study)
หรือ
การศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter -cultural study
การเปลี่ยนแปลงของโลกและสังคมในยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์ ทําให้เกิด
สังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยงระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
คําว่า “
ข้าม
” ในที่นี้ไม่ได้ หมายถึง ข้ามพรมแดน หรือใช้หลักการทางภูมิศาสตร์ แต่หมายถึงการข้าม วัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์
ส่วนคําว่า “
ข้ามวัฒนธรรม
” (cross cultural or transcultural มักใช้แทนกันบ่อยๆ ในวงการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม) แต่อาจมีความหมายต่างกันเล็กน้อย ตรงที่ cross cultural ไม่ได้มีการเชื่อมโยงของคนในลักษณะของการเข้าไปอยู่ในวัฒนธรรมนั้นๆ แต่เป็น การศึกษาความแตกต่างหรือความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing) จึงเป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่า และการปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
วัฒนธรรมจึงความสําคัญต่อระบบบริการสุขภาพ
ประชากรทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี จึงส่งผลให้สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการ ให้บริการเพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
การยอมรับนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีของชีวิตมนุษย์ความเชื่อ วิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น
การรณรงค์เกี่ยวกับ เพศสภาวะ และการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิง มีการ เคลื่อนไหว เพื่อเรียกร้องความเท่าเทียมกัน
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม และ ประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับปฐมภูมิที่ต้องการใช้แนวคิด
ใกล้บ้าน ใกล้ใจ
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดสําคัญที่สามารถนํามาใช้พัฒนาทักษะด้าน
ความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
เป็นการผสมผสาน
การ พยาบาลตาม
มาตรฐานที่สภาการพยาบาลกําหนดร่วมกับการนําข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้รับบริการมาวางแผน การพยาบาล และให้การพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
หากพยาบาลมีความไว (Sensitive)
ในการรับรู้ความ แตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ เข้าใจ และตอบ สนองความคาดหวังของผู้รับบริการต่างวัฒนธรรมได้มากเพียงใดก็จะส่งเสริมให้ประสิทธิภาพในการให้การพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4 มโนมติ
ด้านสิ่งแวดล้อม
ได้แก่สิ่งแวดล้อมทางกายภาพสิ่งแวดล้อมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
ด้านบุคคล
ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดําเนินชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ
เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาลควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม เช่น
แนวคิดของมนุษนิยม (Humanism)
ซึ่งเป็นมุมมองด้านการให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์(liberal, humanist perspective)มุมมองนี้ เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม
แนวคิด
หลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralist perspective)
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ตัวอย่างของการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น
แนวคิดของการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมใหม่โดยเน้นองค์ประกอบของการดูแลใน
4 มิติ
การให้ความสําคัญกับความเป็นมนุษย์ที่ประกอบด้วยกายและจิต และเคารพในการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
การสร้างสัมพันธภาพเป็นจุดสําคัญของการพยาบาลและเป็นพื้นฐานการดูแลคนซึ่งไม่ใช่เฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและพยาบาลเท่านั้น แต่รวมถึงระหว่างญาติกับพยาบาล
ผู้ป่วยจะมีการให้คุณค่ากับสุขภาพและวิถีชีวิตที่หลากหลาย
พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมองค์กรที่หลากหลาย
การพัฒนาคนและชุมชนตามแนวพระราชดําริของพระมหากษัตริย์ไทย
การเข้าใจ
เข้าถึง
พัฒนา
หลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือการให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจําวันของกลุ่มชนเรียนรู้สืบต่อกัน
การดูแล คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือ สนับสนุนเพิ่มความสามารถ
การดูแลทางด้านวัฒนธรรมคือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง
การมองโลก คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
การดูแลทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายแตกต่างกันจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง จะพิจารณาถึง
วิถีชีวิต ความเชื่อ ความเข้าใจภาษา
ตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนร่วมด้วย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมทําให้พยาบาลต้องมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรที่มีความไวทางวัฒนธรรมจะมีการดําเนินการจัดหาล่ามสําหรับการสื่อสารไว้อย่างเป็นระบบ
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรมมีทั้งมิติที่กว้างและแคบ เช่น ความแตกต่างจากวัฒนธรรมคนละซีกโลก
การดูแลผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมนั้นผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถ
มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุกวัฒนธรรม
มีความเข้าใจตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อเชื้อชาติ เพศ และพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกตค้นหาค่านิยมความเชื่อวิถีการดำเนินชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตน
มีบุคลิกภาพท่าทางเป็นมิตร
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านเชื้อชาติวัฒนธรรม
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสมและสอดคล้องตามวัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติศาสนาและวัฒนธรรมโดยคํานึงกฎระเบียบและจรรยาบรรณวิชาชีพ
สามารถรักษาลับของข้อมูลความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การประเมินผู้ป่วย
ดูข้อมูลดูวิถีชีวิต และแนวคิดความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การวางแผนการพยาบาล
ให้กระทําตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัวและเน้นการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล
ควรคํานึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จะทําให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตายอย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
ปรัชญาความเชื่อที่ใช้เป็นฐานคิดของการศึกษาเกี่ยวกับ วัฒนธรรม
แนวคิดปฏิฐานนิยม
เน้นการแสวงหาความจริงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการวัดที่ชัดเจน
แนวคิดมนุษยนิยม
เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระมีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆการเคารพนับถือและ ให้คุณค่าของมนุษย์
แนวคิดหลังโครงสร้างนิยม
มองในเรื่องความเป็นพลวัตรหรือมีการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่งตลอดเวลา
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรมในการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมที่พบบ่อยและควรคํานึงถึง
การเข้าใจบริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
WHO
ผู้ใช้บริการของเราคือใคร
WHEN & WHERE
เราควรปฏิบัติต่อผู้ใช้บริการที่ไหน
วิธีการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการ
HOW
เราควรเข้าถึงผู้ใช้บริการอย่างไร
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดร่วมสมัย
สะท้อนถึงการให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
การพยาบาลตามวิถีชีวิตของมนุษย์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ในความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่สาคัญคือ การมีความไวทางวัฒนธรรม
แนวคิดของ Consent Form การยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าว
4A 2I SE
4A
Avoiding prejudice and cultural bias
หลีกเลี่ยงความล าเอียงและอคติหรืออุปทานเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Assessing the client’ view of the situation
ประเมิน มุมมองหรือทัศนะในสถานการณ์หรือสภาวะที่ผู้ใช้บริการประสบอยู
Avoiding Language Barriers
หลีกเลี่ยงความผิดพลาดในการสื่อสารด้านภาษา
Acknowledging the nurse and client’s cultural heritage
ให้ความสาคัญและเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิหลังของพยาบาลและผู้ใช้บริการซึ่งกันและกัน
2I
Involving all family members
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วม ตลอดกระบวนการ
Identifying significant others
กำหนดบุคคลหรือสิ่งสำคัญที่มีความหมายต่อวิถีชีวิต
SE
Evaluation nursing actions
ประเมินผลการกระทำ
Supporting nutritional preference
ให้การสนับสนุนด้านอาหารหรือโภชนาการที่ชอบ
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
ภาษา
ความเชื่อ
พฤติกรรม
วิธีคิด
เศรษฐฐานะ
ความเป็นสากลของการดูแลทางวัฒนธรรม
Cultural diversity
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Cultural universality
ความเป็นสากลทางวัฒนธรรม
ความเหมือนกัน กับ ลักษณะเด่นเฉพาะ ของ ความหมาย แบบแผนค่านิยมวิถีชีวิตหรือสัญลักษณ์ของการดูแล ในหลายๆวัฒนธรรม
เน้นการดูแลมนุษย์และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม