Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle…
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสําคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing) จึงเป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่า และ การปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม รวมทั้งวิเคราะห์ พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ ทางการพยาบาล ค่านิยมเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และ แบบแผนของ พฤติกรรมต่างๆ ของคนในเชื้อชาติ
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยง ระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
transcultural เป็นการเน้นการเข้าไป อยู่ด้วยและมีการเชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
cross cultural ไม่ได้มีการเชื่อมโยงของคนในลักษณะของการเข้าไปอยู่ในวัฒนธรรมนั้นๆ แต่เป็น การศึกษาความแตกต่างหรือความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
1.เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การดูแลทางด้านวัฒนธรรม คือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง เพิ่มความสามารถ ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
การมองโลกคือการมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม
การดูแลคือพฤติกรรมการช่วยเหลือสนับสนุนเพิ่มความสามารถเกิดการพัฒนาเกี่ยวข้องกับ สถานการณ์ของชีวิต แตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสําคัญกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรม คือ การให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจําวันของกลุ่มชน เรียนรู้สืบต่อ กัน เกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม เป็นลักษณะเฉพาะ
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
6.1. การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
6.2. การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
6.3. การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
7) ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
8) สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม และสอดคล้องตามวัฒนธรรม
6) สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้ มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ
9) บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
5) มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร เข้าใจในวัฒนธรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้าน เชื้อชาติ วัฒนธรรม
10) พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
4) มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดาเนินชีวิต
11) ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม โดยคํานึงกฎระเบียบ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
3) มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
2) มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมความเชื่อ เชื้อชาติ เพศ และพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ใช้บริการ
12) สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
1) มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุก วัฒนธรรม