Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.1 ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การศึกษาข้ามวัฒนธรรม ( Cross cultural study) หรือการศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter - cultural study)
“ข้ามวัฒนธรรม” (cross cultural or transcultural มักใช้แทนกันบ่อยๆ ในวงการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม)
องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่
ลัทธิ
ความเชื่อ
ลักษณะนิสัย
ภาษา
วาจา
ขนบธรรมเนียมประเพณี
พฤติกรรม
3.2 วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
ความสำคัญต่อ ระบบบริการสุขภาพ
3.เพื่อ เรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
4.การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
2.การยอมรับนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีของชีวิตมนุษย์ความเชื่อ วิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และ สิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการประกาศสิทธิของผู้ป่วย
5.การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบ เพื่อให้เกิดภาพการบริการที่ตรงตามสภาพ ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม นอกจากนี้ ในสถานบริการของรัฐยังได้เร่งรัดพัฒนาสถาน 3 บริการให้เข้ากับหลักความเชื่อด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีของคนในพื้นที่
ประชากรทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆ เพิ่มขึ้น ประชาชน สามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี จึงส่งผลให้สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการ ให้บริการ เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
3.3 แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดสำคัญถึงความแตกต่าง ด้านสังคม ความเชื่อ และวัฒนธรรมของผู้รับบริการที่แตกต่างกันมากขึ้น
หากพยาบาลมีความไว (Sensitive) ในการรับรู้ความ แตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ เข้าใจ และตอบ สนองความคาดหวังของผู้รับบริการต่างวัฒนธรรมได้
กรอบแนวคิดทางการ พยาบาล 4 มโนมติ
2.ด้านบุคคล
3.ด้านสุขภาพ
1.ด้านสิ่งแวดล้อม
4.การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ช่วยให้เห็นความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่มีสังคมวัฒนธรรมแตกต่าง เช่น เชื้อชาติ ชาติพันธ์ บทบาท เพศ ชนชั้นทางสังคม และความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสถาบันหรือองค์กรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือ ประชากรที่ศึกษา
แนวคิดของมนุษนิยม (Humanism)
เน้นความเป็นมนุษย์ (liberal, humanist perspective)
มีแนวคิด หลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralist perspective)
สรุปเกี่ยวกับหลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การดูแลทางด้านวัฒนธรรม
การมองโลก
การดูแล
ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
วัฒนธรรม
การจัดกิจกรรมการพยาบาล
การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
3.4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
การดูแลผู้ป่วยหรือ
ผู้รับบริการที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม
5) มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
6) มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มี ความแตกต่างด้านเชื้อชาติวัฒนธรรม
5) มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร
7) ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
4) มีความไวเชิงวัฒนธรรม
8) สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม
3) มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
9) บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
2) มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อ เชื้อชาติ เพศและพฤติกรรมต่างๆ
10) พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได
1) มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
11) ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติศาสนา และวัฒนธรรม โดยคำนึงกฎระเบียบ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
12) สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
การประยุกต์ใช้
การวางแผนการพยาบาล ให้กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัวและเน้นการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล ควรคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะทำให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตาย อย่างสงบ ประเมินโดยใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
การประเมินผู้ป่วย ดูข้อมูล ดูวิถีชีวิต และแนวคิด ความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก