Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Myasthenia gravis : MG, อ้างอิง
ณัฐ พสุธารชาติ. (2552). Basic and…
Myasthenia gravis : MG
-
-
-
-
การวินิจฉัย
-
-
การตรวจเลือดแพทย์จะตรวจนับจำนวนของแอนติบอดีผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงนั้นจะมีจำนวนของแอนติบอดีที่ไปยับยั้งการทำงานของกล้ามเนื้อมากผิดปกติส่วนมากจะตรวจพบแอนติบอดีชนิด Anti-MuSK
-
-
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์(Computerized Tomography )หรือการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(Magnetic Resonance Imaging)เพื่อหาเนื้องอกหรือความผิดปกติที่บริเวณต่อมไทมัส
-
Ice Pack Test เป็นการทดสอบเสริมโดยแพทย์จะนำถุงน้ำแข็งมาวางในจุดที่มีอาการตาตกเป็นเวลา 2 นาทีและวิเคราะห์การฟื้นตัวจากหนังตาตกเพื่อวินิจฉัยโรคต่อไป
การพยาบาล
การใส่ท่อช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยในการใส่ท่อช่วยหายใจโดยประเมินอัตราการหายใจ จังหวะ ความลึก ประเมินการขยายตัวของปอด ค่าต้านก๊าซ ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
-
-
-
-
-
-
ประเมินการมองเห็น ถ้ายังลืมตาไม่ได้ควรปิดเทปข้างหนึ่งให้ตาเปิด ผู้ป่วยลืมตาได้ แต่มองเห็นภาพซ้อน ควรปิดผ้าปิดตาและเปลี่ยนผ้าทุก 2-4hr. อาจต้องใช้น้ำตาเทียมเพื่อป้องกันไม่ให้กระจกตาแห้ง
การซักประวัติ
-
-
- มีอาการหนังตาตก มองภาพซ้อน
- มีอาการเคี้ยวและกลืนลำบาก
-
-
-
อ้างอิง
ณัฐ พสุธารชาติ. (2552). Basic and Clinical Neuroscience 1. พิมพ์ครั้งที่2: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมจิต หนุเจริญกุล. (2538). การพยาบาลทางอายุรศาสตร์ เล่ม 3. พิมพ์ครั้งที่ 4: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ.พริ้นติ้ง.
Aaron L. Berkowitz. (2017). Clinical Neurology and Neuronatomy : A Localization-Based Approach. New York.
-
-
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวการต์ธิดา ภูดีทิพย์ รหัสนักศึกษา 61116301011
2.นางสาวเจนนิสา นุ้ยสุชล รหัสนักศึกษา 61116301019
3.นางสาวทิพย์เกษร คงภักดี รหัสนักศึกษา 61116301033
4.นางสาสนันทรัตน์ ปราศภัย รหัสนักศึกษา 61116301045
5.นางสาวเบญญาภา พิรามวิทวัส รหัสนักศึกษา 61116301054