Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมimage - Coggle…
บทที่3
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
2.วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความสำคัญต่อ ระบบบริการสุขภาพ
มีการ เคลื่อนไหว เพื่อ เรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม และ ประชาชนสามารถ รับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย
การประกาศสิทธิของผู้ป่วย ข้อกำหนดตาม พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติและข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญแห่งประเทศไทย ปี พศ. 2540 ส่งผลให้ ประชาชน สามารถเรียกร้องตามสิทธิของผู้ป่วยในการรับบริการในสถานบริการและเรียกร้องให้ผู้บริการด้าน สุขภาพ
การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐาน,รเพิ่มมิติทาง สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น,
สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการ ให้บริการ เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
3 บริการให้เข้ากับหลักความเชื่อด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีของคนในพื้นที่
วัตถุประสงค์
เป็นการค้นหาคําตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆตามหลักวิชาการ
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
3.แนวคิดและหลักของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดร่วมสมัย ที่จะสะท้อนถึงการให้การพยาบาลโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
การผสมผสานของแนวคิดการพยาบาลแบบองค์รวม กับแนวคิดมนุษยวิทยา
กรอบแนวคิดทางการพยาบาล 4มโนมติ
(1) ด้านสิ่งแวดล้อม
(2) ด้านบุคคล
(3) ด้านสุขภาพ
(4) การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลมีความไวทางวัฒนธรรม
องค์กรมีความไวทางวัฒนธรรม เช่น จัดหาล่าม,อบรมเกี่ยวกับการดูแลข้ามวัฒนธรรมให้บุคคากร,มีป้ายหรือสัญญาลักษณ์หลายภาษา
นำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรม
การผสมผสานการพยาบาลตามมาตรฐาน ร่สมกับการนำข้อมูลเชิงวัฒนธรรมของผู้บริการมาวางแผนการพยาบาลและให้การพยาบาล
แนวคิดอื่นที่มาเกี่ยวข้องกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
แนวคิดของมนุษนิยม (Humanism)
ให้อิสระและเน้นความเป็นมนุษย์ เน้นความเสมอภาคเท่าเทียม ความเป็นอิสระ มีเสรีภาพเหมือนคนอื่นๆ
มีแนวคิด หลังโครงสร้างนิยม (Poststructuralist perspective)
การเปลี่ยนแปลง ของสรรพสิ่งตลอดเวลา
เชื้อชาติ ชาติพันธ์ บทบาท เพศ ชนชั้นทางสังคม และความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสถาบันหรือองค์กรที่อาจมีผลบวกหรือลบต่อคนหรือ ประชากรที่ศึกษา
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม ที่พบบ่อยและควรคำนึง
การเข้าใจ บริบทของกลุ่มผู้ใช้บริการ
WHEN,WHERE
เราควรปฎิบัติต่อผู้ใช้บริการที่ไหน
เวลาพบปะ สถานที่ ความเป็นส่วนตัว ความเป็นอิสระ
WHO
ผู้ใช้บริการของเราคือใคร
กลุ่มผู้บาดเจ็บ ผู้พิการ เปราะบาง กลุ่มผู้สูงอายุ
วิธีการเข้าถึง กลุ่มผู้ใช้บริการ
HOW
เข้าถึงอย่างไร
ภาษาท่าทาง การสื่อสาร การใช่ล่าม
ตัวอย่าง
ผู้ใช้บริการที่นับถือศาสนาอิสลาม
หลีกเลี่ยงการใช้ภาษากลางหรือศัพท์ทางวิชาการที่ขัดต่อความเชื่อ เช่น การคำว่าการคุมกำเนิดแต่ใช่คำว่า เว้นช่วงการมีลูก
การใช้สรรพนามแทนชื่อที่เหมาะสม เช่น ก๊ะ,ม๊ะไม่เรียกว่าแขก
หลีกเลี่ยงการนัดหมายผู้ป่วยในช่วงเดือนรอมฎอนหรือถือศีลอด
เลือกบุคคลและวิธีการที่เป็นธรรมชาติ(เยี่ยมถึงเตียง ไปถึงบ้าน มากกว่ามานัดพบ)
ผู้ใช้บริการชาวมอญ
ความเชื่อ อำนวจยอกเหนือธรรมชาติ
ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นที่พึ่งหลักของการดำเนินชีวิต
พึ่งยาบ้านเป็นหลัก
แนวคิดในการพยาบาลผู้ใช้บริการในยุค "สังคมพหุวัฒนธรรม"
กรอบแนวคิด และ การประยุกต์ใช้
การวิเคราะห์และตีความทางวัฒนธรรม
ความละเอียดอ่อนทางวัฒนธรรม
ปรัชญาความเชื่อเกี่ยวกับ การศึกษา วัฒนธรรม
มีความไวในการรับรู้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของผู้รับบริการ
แนวคิดการดูแลหรือการพยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคม
สังคมแบบต่างคนต่างอยู่
เน้นความส่วนบุคคลมากกว่ากลุ่ม
สังคมแบบรวมกลุ่ม
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่มมากกว่าแบบรายบุคคล
นโยบายของประเทศ
ตัวอย่างเช่น
นโยบายทางสังคมของญี่ปุ่น
นสมัยก่อนเป็นแบบปิดประตูไม่ต้อนรับคนอพยพ หรือย้ายถิ่น หรือให้การดูแลผู้ย้ายถิ่นแบบชนกลุ่มน้อย
มีนโยบายทางสังคมเป็นแบบผสมกลมกลืน ของประเทศไทย
มุ่งเน้นการดูแลให้ผู้ย้ายถิ่นปรับตัวให้เข้ากับสังคมของคนกลุ่มใหญ่ โดยใช้ภาษาและ วัฒนธรรมเป็นสื่อกลาง
แนวนโยบายของประเทศสิงคโปร์
่ให้สิทธิกับผู้ย้ายถิ่นอย่างเท่าเทียมกับพลเมืองทุกกลุ่ม ซึ่งเป็นลักษณะของการดูแลในสังคม พหุวัฒนธรรม
ทบทวนและพัฒนาแนวคิดของการ พยาบาลที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ประเทศญี่ปุ่น
เน้นองค์ประกอบของการดูแลใน 4 มิติ
ชาวญี่ปุ่นมีแนวโน้มที่จะหลีกเลี่ยงการสัมผัสกาย
พยาบาลญี่ปุ่นให้ ความสำคัญกับการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยระหว่างการรักษาเสมอ
ผู้ป่วยจะมีการให้คุณค่ากับสุขภาพและวิถีชีวิตที่หลากหลาย รวมทั้งการให้คุณค่ากับประเพณี วัฒนธรรมในการดูแลแบบโบราณ คุณค่าของชุมชน และแบบตะวันตก
พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมองค์กรที่หลากหลาย ่มีผลต่อ การปฏิบัติพยาบาลและการตัดสินใจของคน
ประเทศไทย
เน้นความเป็นองค์รวมหรือกลุ่ม (collectivism) มากกว่าแบบรายบุคคล
ตามแนวพระราชดำริของพระมหากษัตริย์ไทยว่าต้องมี 3 องค์ประกอบสำคัญ คือการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา
ข้อกำหนดของสภาการพยาบาล ที่เน้นข้อหนึ่งว่า ผู้ให้ การดูแลหรือพยาบาลไทยถือหลักการหรือแนวคิดว่า ต้องให้การดูแลเหมือนกัน ไม่ว่าจะยากจนหรือร่ำรวย นับ ถือศาสนาใด รวมทั้งผู้ที่อพยพหรือย้ายถิ่นมาอาศัยอยู่ในประเทศ ผู้ให้การดูแลต้องเน้นความเคารพในความ แตกต่างของแต่ละบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมเฉพาะที่มีอยู่มากขึ้น
ให้ ความสำคัญกับการดูแลตามวัฒนธรรมความเชื่อของบุคคลและกลุ่มวัฒนธรรมที่หลากหลายไปพร้อมๆ กัน
เข้าสู่ ความเป็นสากลมากขึ้น ขณะเดียวกันยังต้องรักษาหรือคงไว้ซึ่งวัฒนธรรมการดูแลที่มีความเป็นเอกลักษณ์เดิม ด้วย
1.ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ย่อมจะต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม
เป็นแนวทางหนึ่งที่จะได้มา ซึ่งองค์ความรู้ใหม่ ที่จะช่วยอธิบายถึงความแตกต่างของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของ สังคมเหล่านั้น
ยุคศตวรรษที่ 21 หรือยุคโลกาภิวัตน์ ทำให้เกิดสังคมที่มีความหลากหลายมากขึ้นจากปัจจัยหลายประการ
การเตรียมรับสถานการณ์ด้านบริการสุขภาพ
นโยบายความร่วมมือในเครือข่ายสมาชิกกับกลุ่มประเทศต่างๆ มากขึ้น
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยง ระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ
การข้าม วัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรม ศาสตร์ ซึ่งเน้นกระบวนการและวิธีคิดของคนหรือกลุ่ม
Cross cultural or transcultural
ความหลากหลายภายในวัฒนธรรม
cross cultural
เชื่อมโยงของคนต่างวัฒนธรรม
องค์ประกอบสำคัญ
ะผลิตผลของกิจกรรมที่มนุษย์ในสังคมผลิต
การประพฤติปฏิบัติในสังคม
ลัทธิ ความเชื่อ ภาษาขนบธรรมเนียมประเพณี อาหารการกิน เครื่องใช้ไม้สอย ศิลปะต่างๆ
พฤติกรรม วาจา ลักษณะนิสัย ของคน
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing)
ยผู้ให้บริการจะต้องมีความไวในการรับรู้และให้การ พยาบาลที่เหมาะสม
การตอบสนอง ที่สอดคล้องกับความ ต้องการการดูแลเฉพาะของเชื้อชาติหรือวัฒนธรรม
งวิเคราะห์ พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ ทางการพยาบาล
เน้นการให้คุณค่า และ การปฏิบัติ
4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
ผู้ดูแลจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถ
ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม และสอดคล้องตามวัฒนธรรม
สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้ มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มี ความแตกต่างด้านเชื้อชาติ วัฒนธรรม
บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร เข้าใจในวัฒนธรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้าน เชื้อชาติ วัฒนธรรม
มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดาเนิน ชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยซึ่งสะท้อนแนวคิดด้านวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม โดยคำนึงกฎระเบียบ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้
สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
เคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุก วัฒนธรรม
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการ พยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล ให้กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัว และเน้นการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล ควรคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อ ค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะทำให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตาย อย่างสงบ ประเมินโดย ใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
การประเมินผู้ป่วย ดูข้อมูล ดูวิถีชีวิต และแนวคิด ความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
พฤติกรรม
วิธีคิด
ความเชื่อ
เศรษฐฐานะ
ภาษา
ความเป็นสากลของการดูแล
Cultural diversity ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Culture universality ความเป็นสากลทางวัฒนธรรม
ความเหมือนกัน กับ ลักษณะเด่นเฉพาะ
เน้นการดูแลมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม