Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม - Coggle…
บทที่ 3
แนวคิด หลักการ และความสำคัญของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
3.4 ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมจึงเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ สิ่งที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมสามารถสร้างความสมดุลกลมกลืนให้มนุษย์ได้ ความไวทางวัฒนธรรมจึงเป็นคุณสมบัติสำคัญในการให้การพยาบาลในความหลากหลายทาง วัฒนธรรม สุขภาพในแต่ละมิติ
ความหลากหลายของการดูแลทางวัฒนธรรม
6.สามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการที่ไม่ใช้ภาษาไทยได้มีทักษะในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการที่มี ความแตกต่างด้านเชื้อชาติวัฒนธรรม
7.ประเมินความเข้าใจในสารที่ส่งกับผู้ใช้บริการได้
5.มีบุคลิกภาพ ท่าทางเป็นมิตร เข้าใจในวัฒนธรรมการสื่อสารของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้าน เชื้อชาติวัฒนธรรม
8.สามารถค้นหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกับผู้ใช้บริการได้เหมาะสม และสอดคล้องตามวัฒนธรรม
4.มีความไวเชิงวัฒนธรรม(cultural sensitivity) รู้จักสังเกต ค้นหา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีการดาเนิน ชีวิตตลอดจนพฤติกรรมการปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยซึ่งสะท้อนแนวคิดด้านวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
9.บูรณาการความรู้ทางการพยาบาลมาใช้กับผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลายด้านวัฒนธรรมได้
3.มีทัศนคติด้านบวกกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างด้านวัฒนธรรม
10.พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมตามความแตกต่างด้านวัฒนธรรมได้
2.มีความเข้าใจ ตื่นตัว ใฝ่รู้ เกี่ยวกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมความเชื่อ เชื้อชาติ เพศ และพฤติกรรมต่างๆ ของผู้ใช้บริการที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
11.ให้การพยาบาลผู้ใช้บริการทุกเชื้อชาติศาสนา และวัฒนธรรม โดยคำนึงกฎระเบียบ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
1.มีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียมกันในสังคมและเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุก วัฒนธรรม
12.สามารถรักษาลับของข้อมูล ความเชื่อของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้
การดูแลทางวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายแตกต่างกันจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง จะพิจารณาถึงวิถี ชีวิต ความเชื่อ ความเข้าใจภาษา ตลอดจนความแตกต่างในมิติทางขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมของ ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชนร่วมด้วย
การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมไปใช้ในกระบวนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล ให้กระทำตามความต้องการของผู้ป่วยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม ครอบครัว และเน้นการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแล ควรคำนึงถึงความสอดคล้องกับวัฒนธรรม และ สนองตอบต่อ ค่านิยม หรือไม่แตกต่างมากนัก
การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล ใช้มุมมองของผู้รับบริการเป็นหลัก
การประเมินผลหรือผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น จะทำให้สุขภาพดี หายจากโรค หรือตาย อย่างสงบ ประเมินโดย ใช้ผู้ป่วย ครอบครัวและการยอมรับของกลุ่มชนเป็นหลัก
การประเมินผู้ป่วย ดูข้อมูล ดูวิถีชีวิต และแนวคิด ความเชื่อของแต่ละบุคคลเป็นหลัก
3.1 ประวัติความเป็นมาของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
การปฏิบัติการพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดทางการพยาบาลที่มุ่งเน้นให้เกิดความเชื่อมโยง ระหว่างการพยาบาลและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของผู้รับบริการ ดังนั้นคำว่า “ข้าม” ในที่นี้ไม่ได้ หมายถึง ข้ามพรมแดน หรือใช้หลักการทางภูมิศาสตร์ แต่หมายถึง การข้าม วัฒนธรรมซึ่งเป็นหลักการทางพฤติกรรม ศาสตร์ ซึ่งเน้นกระบวนการและวิธีคิดของคนหรือกลุ่ม ส่วนคำว่า “ข้ามวัฒนธรรม” (cross cultural or transcultural มักใช้แทนกันบ่อยๆ ในวงการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม)
ความเข้าใจถึงบริบทของสังคมในภูมิภาคต่างๆ ที่แตกต่างกันทางด้านวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ย่อมจะต้องอาศัยการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นระบบได้แก่ การศึกษาข้ามวัฒนธรรม ( Cross cultural study) หรือการศึกษาวัฒนธรรมข้ามชาติ (Inter - cultural study)
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (transcultural nursing)
จึงเป็นการพยาบาลที่เน้นการให้คุณค่า และ การปฏิบัติโดยเปรียบเทียบความเหมือนและ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของบุคคลหรือกลุ่ม รวมทั้งวิเคราะห์ พฤติกรรมการดูแลและการให้บริการ ทางการพยาบาล
3.3 แนวคิดและหลักการของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
องค์ประกอบของการดูแลใน 4 มิติ
2.การสร้างสัมพันธภาพเป็นจุดสำคัญของการพยาบาลและเป็นพื้นฐานการดูแลคนซึ่งไม่ใช่เฉพาะ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยและพยาบาลเท่านั้น แต่รวมถึงระหว่างญาติกับพยาบาล พยาบาลญี่ปุ่นให้ ความสำคัญกับการมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยระหว่างการรักษาเสมอ
3.ผู้ป่วยจะมีการให้คุณค่ากับสุขภาพและวิถีชีวิตที่หลากหลาย รวมทั้งการให้คุณค่ากับประเพณี วัฒนธรรมในการดูแลแบบโบราณ คุณค่าของชุมชน และแบบตะวันตก
1.การให้ความสำคัญกับความเป็นมนุษย์ที่ประกอบด้วยกายและจิต และเคารพในการมีปฏิสัมพันธ์ซึ่ง กันและกัน
4.พื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมองค์กรที่หลากหลาย
สรุปเกี่ยวกับหลักการทั่วไปของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
4. การมองโลก
คือ การมองของบุคคลโดยมองที่โครงสร้างของสังคม เช่น ศาสนา เศรษฐกิจ และ การศึกษา ซึ่งให้ความหมายและระเบียบวัฒนธรรมแก่กลุ่มชน
5. ระบบสุขภาพและความผาสุกของบุคคล
คือ การดูแลเชิงวิชาชีพที่ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรม
3. การดูแลทางด้านวัฒนธรรม
คือ คุณค่าความช่วยเหลือ ประคับประคอง เพิ่มความสามารถ ปรับปรุง สภาพการณ์ส่วนบุคคล การเผชิญความตาย ความรู้ทางด้านวัฒนธรรมจะช่วยในการดูแลของพยาบาล
2. การดูแล
คือ พฤติกรรมการช่วยเหลือ สนับสนุนเพิ่มความสามารถ เกิดการพัฒนา เกี่ยวข้องกับ สถานการณ์ของชีวิต แตกต่างกันในแต่ละวัฒนธรรม
6. การจัดกิจกรรมการพยาบาล
6.2. การจัดหาการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือ ช่วยเหลือให้ผู้รับบริการในการปรับตัวทางวัฒนธรรมที่ เฉพาะเจาะจง
6.3. การวางรูปแบบการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือ ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในการปรับตัวให้ เข้ากับแบบแผนชีวิตใหม่ที่แปลกแตกต่าง
6.1. การสงวนการดูแลด้านวัฒนธรรม
คือ ตัดสินใจช่วยเหลือผู้รับบริการในวัฒนธรรมที่เฉพาะเพื่อ ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ หายจากการเจ็บป่วย และเผชิญความตาย
1. วัฒนธรรม
คือ การให้คุณค่า ความเชื่อ และการปฏิบัติในชีวิตประจำวันของกลุ่มชน เรียนรู้สืบต่อ กัน เกิดพื้นฐานและวัฒนธรรมเฉพาะกลุ่ม เป็นลักษณะเฉพาะ
มีกรอบแนวคิดทางการ พยาบาล 4 มโนมติ
ด้านบุคคล
ซึ่งแต่ละคนย่อมมีแบบแผนการดำเนินชีวิต และพฤติกรรมสุขภาพแตกต่างกัน
ด้านสุขภาพ
เป็นสภาวะการผสมผสานการตอบสนองความเจ็บป่วยตามมาตรฐานการพยาบาล ควบคู่กับการให้คุณค่าทางวัฒนธรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม
ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และ สิ่งแวดล้อมที่เป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
การพยาบาลโดยมุ่งให้ผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมเป็นแนวคิดสำคัญที่สามารถนำมาใช้พัฒนาทักษะด้านความเข้าใจความต่างทาวัฒนธรรม
3.2 วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่างซึ่งกันและกัน
เพื่อให้เกิดความร่วมมือและช่วยเหลือกันและกันในด้านบริการสุขภาพ
เป็นการค้นหาคำตอบเกี่ยวกับวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ตามหลักวิชาการ
ความสำคัญต่อ
ระบบบริการสุขภาพ
3. การรณรงค์เกี่ยวกับ เพศสภาวะ และการเปลี่ยนแปลงบทบาทชายและหญิง
มีการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องความเท่าเทียมกันในการดำรงตำแหน่งในสังคมของชายหญิงเพิ่มขึ้น ทำให้ต้อง ปรับเปลี่ยนระบบการให้บริการสุขภาพเพื่อให้เหมาะสมกับเพศสภาวะ
4. การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการสื่อสารโทรคมนาคม
ทำให้ประชาชนสามารถรับข้อมูลข่าวสารที่ทันต่อเหตุการณ์และทันสมัย ส่งผลต่อระบบการบริการต้องมีการ ปรับเปลี่ยนและ ติดตามความรู้ใหม่ๆให้เหมาะสมและทันกับเหตุการณ์
2. การยอมรับนับถือ การมีคุณค่า ศักดิ์ศรีของชีวิตมนุษย์ความเชื่อ
วิถีชีวิตตามวัฒนธรรมของบุคคล และ สิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการประกาศสิทธิของผู้ป่วย ข้อกำหนดตาม พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติและข้อกำหนดของรัฐธรรมนูญแห่งประเทศไทย ปี พศ. 2540
ส่งผลให้ ประชาชน สามารถเรียกร้องตามสิทธิของผู้ป่วยในการรับบริการในสถานบริการและเรียกร้องให้ผู้บริการด้าน สุขภาพมองผู้รับบริการเพิ่มขึ้นโดยไม่มองตามธรรมเนียมปฏิบัติแบบดั้งเดิม
5. การเปลี่ยนฐานความคิดในการดูแลจากการใช้ชุมชนเป็นฐานโดยเฉพาะการปฏิรูประบบสุขภาพระดับ ปฐมภูมิ
การให้บริการจึงทำให้พยาบาลชุมชนผู้ซึ่ง รับผิดชอบ การให้บริการระดับปฐมภูมิต้องปรับวิธีคิด และกระบวนการทำงานในชุมชน ในการเพิ่มมิติทาง สังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณีของผู้รับบริการมากขึ้น
เพื่อให้เกิดภาพการบริการที่ตรงตามสภาพ ปัญหาที่เกิดจากปัจจัยทางสังคมวัฒนธรรม นอกจากนี้ ในสถานบริการของรัฐยังได้เร่งรัดพัฒนาสถาน 3 บริการ
ให้เข้ากับหลักความเชื่อด้านศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีของคนในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้รับบริการ พึงพอใจและไม่ขัดกับความรู้สึก ความเชื่อมากขึ้น
1.ประชากรทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยมีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานไปในพื้นที่ต่างๆ เพิ่มขึ้น
ประชาชนสามารถเข้าถึงสถานบริการในทุกระดับได้ดี
จึงส่งผลให้สถานบริการต้องเร่งจัดระบบการ ให้บริการ เพื่อรองรับประชาชนที่มีความหลากหลายและมีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันตามสภาพพื้นที่
สังคมในยุคศตวรรษที่ 21 ทำให้เกิดสังคมที่มีความหลากหลายมาขึ้น มีการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารและ การสื่อสารเทคโนโลยีแบบไร้พรมแดน มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากรเกิดขึ้นในส่วนต่างๆ ของโลก