Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acquired Heart Disease โรคหัวใจทีเกิดขึ้นภายหลัง - Coggle Diagram
Acquired Heart Disease
โรคหัวใจทีเกิดขึ้นภายหลัง
โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
เชื้อไวรัสที่พบบ่อยว่า เป็นสาเหตุของโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
คือ เชื้อ Coxsakies Virus
เด็กจะมีอาการติดเชื้อไวรัสมาก่อน คือ เป็นไข้ มีผื่นขึ้น อ่อนเพลียอาจมีอาการหอบ หัวใจเต้นเร็วและหัวใจวาย
เชื้อไวรัสทุกชนิดทำให้เกิด อาการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจได้
หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีอาจเป็นอันตราย ถึงชีวิตได้
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส
โรคหัวใจรูมาติค (Rheumatic Heart Disease)
ถ้าผู้ป่วยมีหัวใจอักเสบร่วมด้วย จะมีอาการ หอบเหนื่อย เหนื่อยงา่ย
อ่อนเพลีย ปวดบวมอักเสบที่เท้าและขา เป็นมากขึ้นเรื่อยๆ และมีความพิการถาวรได้
จะอาการไข้สูง 38.4-40 C ปวดบวมอักเสบที่ข้อ ผื่นแดงที่ผิวหนัง
ตุ่มแข็งที่ชั้นใต้ผิวหนัง
ทำให้มีการอักเสบของหัวใจทุกชั้น รวมทั้งเยื่อบุหัวใจและลิ้นหัวใจ
อาจทำใหเ้ กิดลิ้นหัวใจรั่ว หรือลิ้นหัวใจตีบได
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ชื่อ Beta-hemolytic
streptococcus gr A ที่คอ อาการไข้สูง เจ็บคอ ประมาณ 1-5 Wksไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันท่วงที
พบมากในอายุ 5- 15 ปี
เป็นโรคหัวใจที่เกิดภายหลังที่เกิดภายหลัง
หรือภาวะแทรกซ้อนจากไข้rheumatic
ภายหลังที่เป็นไข้ rheumatic จะมีการอักเสบของหัวใจทุกชั้น รวมทั้งเยื่อบุหัวใจและลิ้นหัวใจ ในรายที่เป็น ไข้ rheumatic ซ้ำหลายๆครั้งจะทำให้ลิน หัวใจถูกทำลายมากขึน โดยมีการหดตัวหรือแข็งตัว ทำให้ลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบ มักเป็น Mitral Regurgitation (MR), Mitral Stenosis(MS), Aortic Regurgitation (AR)
เป็นโรคหัวใจที่มาเกิดในภายหลัง ที่พบบ่อยที่สุด
เป็นแล้วรักษายาก และจะเหลือรอยโรคที่หัวใจ ต้องได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำนานหลายปี หรือตลอดชีวิต
ข้อสังเกต Rheumatic
มักจะเกิดกับข้อใหญ่ๆและปวดหลายข้อ โดยเริ่มต้น
ปวดที่ข้อใดข้อหนึ่งก่อนแล้วย้ายไปปวดที่อีกข้อหนึ่ง
อาจเกิดเลือดกำเดาไหล (Epistaxis) จากการอักเสบของ
หลอดเลือด หรือเนื้องจากการใช้ยา Salicylate ในการรักษาโรคไข้รูมาติก ทำให้มีอาการเลือดออกง่ายและ หยุดยาก
(Bleeding tendency)
อาการปวดข้อ (Arthralgia) จะไม่มีอาการแสดงของการ
อักเสบอื่นๆได้แก่ กดเจ็บ บวมแดงและร้อน
อาการ
อาการหลัก
• หัวใจอักเสบ (Carditis)
• อาการทางประสาท (Chorea)
• ข้ออักเสบ (Polyarthritis)
• ผื่นตามผิวหนัง (Erythema marginatum)
• ตุ่มนูนใต้ผิวหนัง (Subcutaneous nodules)
อาการรอง
• ไข้ต่ำๆ
• ปวดข้อ (Polyarthralgia)
• เลือดกำเดาไหล
• ปวดท้อง
• ปอดบวม
• อาการอื่นๆ เช่น รู้สึกไม่สบายเจ็บหน้าอก ซีด
• ASO, ESR, C-Reactive Protein
กลุ่มอาการคาวาซากิ
( Kawasaki syndrome)
พบในเด็กอายุต่ำกว่า 4 ปี
อาการเริ่มจากมีไข้สูง 5 วันโดยที่หาสาเหตุการติดเชื้อไม่พบ
ร่วมกับมีอาการ ตาแดง ปากแดง ลิ้นแดง ริมฝีปากแดงแห้ง ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต มือเท้าบวม และมีผื่นขึ้นตามตัว
เป็นโรคที่มีการอักเสบของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กโดยไม่
ทราบสาเหตุ
ระยะเฉียบพลันอาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบรุนแรงถึงชีวิต
ต้องรักษาแต่เนินๆ
ภาวะแทรกซ้อน
การโป่งพองของเส้นเลือดที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เกิดการแตก หรืออุดตันของหลอดเลือดหัวใจ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงเฉียบพลัน
เสียชีวิตตั้งแต่อายุน้อยๆได้
ในระยะที่มีหลอดเลือดแดงผิดปกติแล้วต้องใช้ยาป้องกันไม่ให้
หลอดเลือดหัวใจอุดตัน หากไม่ได้ผลอาจต้องผ่าตัด
หลักการวินิจฉัยโรค
อาการไข้ มักจะเป็นไข้สูงอยู่นาน 1-2 สัปดาห์
ฝ่ามือฝ่าเท้าบวมแดง ไม่เจ็บ มีการลอกของผิวหนังบริเวณ
ปลายนิ้ว มือและนิ้ว เท้า(ประมาณ 10-20 วันหลังมีไข้)
มีผื่นภายใน 5 วันแรก ที่ลำตัวหน้าแขน ขา ผิวหนังแดงและลอกที่บริเวณก้น (Perineum) เกิดหลังมีไข้ 1-2 วันและผื่นอยู่นาน 1-2 สัปดาห์
ตาแดงทั้ง 2 ข้าง ไม่เจ็บ ไม่มีขี้ตา เป็นหลังมีไข้
1-2 วัน และเป็นอยู่นานประมาณ 1-2 สัปดาห์
ริมฝีปากแดง แตก ลิ้น คล้ายสตรอเบอรี่ (Strawberry tongue)เยื่อบุช่องปากแดง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เกล็ดเลือดสูง ซึ่งมักพบภายหลังสัปดาห์แรกของโรค
Neutrophilia, ซีดเล็กน้อย
อัลมูบินในเลือดตำ
การรักษา
เป็นการรักษาเพื่อควบคุมอาการและควรจะรีบรักษา
ภายใน 10 วันหลังจากเริ่มมีไข้ ประกอบด้วย
ยาป้องกันการเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือดเพื่อลดอุบัติการณ์ของเส้นเลือดอุดตัน
ASAลดไข้และลดการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจและผนังหลอดเลือด
ให้อิมโมโนโกลบูลิน (IVIG, Intravenous Immunoglobulin) เพื่อลดอุบัติการณ์การการเกิดการโป่ งพองและการอักเสบของเส้นเลือด Coronary