Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cyanotic Congenital Heart Disease - Coggle Diagram
Cyanotic Congenital Heart
Disease
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดมาก
หลอดเลือดแดงใหญ่กับหลอดเลือดไปปอดสลับขั้ว
(Transposition of the Great Arteries or TGA)
เป็ นโรคหัวใจที่มีความผิดปกติของตำแหน่งหลอดเลือด โดยการสลับกันของ Aorta กับ Pulmonary artery
สาเหตุ
เกิดจากความล้มเหลวของการแบ่งตัวของ Truncus arteriosus ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 ของการตั้งครรภ์ ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด อาจเกิดจากมารดาติดเชื้อหัด ไวรัส ขาดสารอาหาร แอลกอฮอล์ เบาหวาน อายุมากกว่า 40 ปี
การสลับของหลอดเลือด ทำให้เด็กเขียวตั้งแต่แรกคลอด เรียกว่าblue-baby syndrome อาจเสียชีวิตตั้งแต่แรกคลอด แต่ถ้ามีVSD ASD PDA อาจช่วยให้มีชีวิตรอดไประยะหนึ่ง
General-หายใจเร็ว ตื้น หายใจลำบาก หัวใจเต้นเร็ว ผิวคล้ำเขียว นิ้วปุ้ม กินได้น้อย ตัวเล็ก
การวินิจฉัย TGA
EKG – QRS change
Echo – พบ aorta and pulmonary artery ขนานกัน ปกติจะ
ไขว้กัน
CXR พบหัวใจโต และขั้วหัวใจแคบและยาวคล้ายไข่ท่าตะแคงegg on side เนื่องจากaorta and pulmonary artery ซ้อนกัน
Echocardiography – ความดันใน RV and AO เท่ากับความดัน
ที่วัดได้ตามแขนและขา ความอิ่มตัวของออกซิเจนต่ำกว่าปกติ
การรักษา TGA
การรักษาด้วยยา
Prostaglandin E1 0.05 – 2 microgram/kg/minute หยอดเข้าหลอดเลือดดำ ทันทีที่วินิจฉัยได้ตั้งแต่แรกเกิด เพื่อป้องกันไม่ให้ Ductus arteriosus ปิด ทำให้เลือดผสมกันได้ เพื่อให้
ทารกรอดไปอีกระยะหนึ่ง ก่อนการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Intra-arterial baffle repairs- ผ่าตัดซ่อมแซมภายใน
หลอดเลือดแดง เปลี่ยนทางเดินหลอดเลือดดำ ให้เลือดไหลไปฟอกที่ปอด
Atrial switch procedure – first week after birth
สลับเปลี่ยนทางเดิน AO and PA ให้อยู่ในภาวะปกติ
การพยากรณ์โรคหลังผ่าตัดดี
ชนิดเขียวและมีเลือดไปปอดน้อย
รูรั่วที่ผนังหัวใจห้องล่างขนาดใหญ่ร่วมกับหลอดเลือดไปปอดตีบ Tetralogy of Fallot: TOF
สาเหตุ
เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียวที่พบบ่อยที่สุด ร้อยละ 10
ของโรคหัวใจในเด็ก และร้อยละ 40 ของโรคหัวใจชนิดเขียว
TOF มีความผิดปกติ 4 อย่าง
o VSD
o Overriding aorta
o Right ventricular hypertrophy
o Infundibula stenosis: กล้ามเนื้อบริเวณทางออกของ right ventricle หนาตัวผิดปกติพบไม่บ่อย echo จะวินิจฉัยได้ชัดเจน
เกิดจากความล้มเหลวในการเจริญเติบโตของหัวใจตั้งแต่เป็นตัวอ่อน
ในครรภ์ ระยะ 3 เดือนแรก
อาการ TOF
ไม่แสดงอาการเขียวตั้งแต่แรกเกิด จนกระทั่ง 3-4 เดือน
เขียวเป็นครั้งคราว เช่น ร้องให้ อาบน้ำ กินนม มีไข้ เนื่องจากไปเพิ่มภาวะRt to Lf shunt
น้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่าปกติ การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า อาการเขียวรุนแรงขึ้นเมื่อ PDA ปิด
มีภาวะ anoxic spell เกิดจากสมองขาดออกซิเจน ทำให้เป็นลม หน้ามืด
ชัก หมดสติได้บ่อย มักเกิดหลังตื่นนอน ร้องให้ อุจจาระ ออกกำลังกาย
มีนิ้วปุ้ม clubbed fingers and toes
อาการจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดและความผิดปกติของ VSD and
PS
มีอาการหายใจลำบาก dyspnea เมื่อเล่น ต้องจับนั่งยองๆ หรือ
นอนท่าเข่าชิดอก knee chest position อาการจะดีขึ้น
เด็กจะชอบนั่งยองๆ squatting เพื่อให้เกิดการพับของงหลอดเลือด
ใหญ่ที่ขาหนีบ และเพิ่มความต้านทานของหลอดเลือดในร่างกายทำให้เลือดไปปอดมากขึ้น เกิดภาวะ Rt to Lt shunt ลดลงชั่วขณะ
ทำให้ผู้ป่วยสบายขึ้น
เด็กจะเขียวน้อยถ้า Infundibula stenosis ไม่มาก
หลอดเลือดไปปอดยิ่งตีบมาก เด็กก็จะเขียวมาก เหนื่อยมากตั้งแต่เล็ก ในทางตรงกันข้ามถ้า หลอดเลือดไปปอดตีบไม่มาก เด็กก็จะเริ่มเขียว เหนื่อยเมื่อโตมากแล้ว
มักไม่แสดงอาการหลังคลอด แต่อาจฟังพบ murmur
ถ้าไม่ได้รักษา Anoxic spell
ไม่รักษา-แทรกซ้อน- หลอดเลือดอุดตันในสมอง หรือฝีในสมอง Brain abscess
พยาธิสภาพ TOF
เด็กจะเขียวเมื่อ PDA ปิดสนิท
เด็กจะเขียวเมื่อร้องให้ เต้น การนั่งยองๆช่วยให้หายเหนื่อย
เมื่อ pulmonary stenosis ทำให้ขัดขวางการไหลเวียนเลือดไปปอด ทำให้ความดันใน RV สูง ประกอบกับการมี VSD ดังนั้นเลือดดำจะไหลจาก RV to LV และออกทาง Aorta ทำให้ LV ทำงานหนักขึ้น LV โต และร่างกายได้รับเลือดที่มีออกซิเจนต่ำและร่างกายพยายามทดแทนการขาดออกซิเจนโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น ทำให้เลือดมีความหนืด การไหลเวียนเลือดช้าลง เกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด TOF
Corrective surgery
เป็นการผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติทั้งหมด
ควรทำเมื่ออายุ 2-6 ปี เด็กน้ำหนัก 10 กก ขึ้นไป เรียกว่าResectionSubvalvular Obstruction คือการผ่าตัดเนื้อเยื่อ
infundibulum ออก และปิด VSD ด้วยการทำ correctivesurgery
Palliative surgery
Modified Blalock-Taussing Shunt
โดยการใช้ graft ต่อระหว่าง right subclavian artery กับ pulmonary artery ทำให้ได้เลือดผสมผ่าน shunt และ pulmonary artery ไปปอดได้ ทำให้เลือดมีปริมาณออกซิเจนสูงขึ้น ทำให้มีชีวิตอยู่ต่อได้ อาการดีขึ้น
การรักษาด้วยยา TOF
ยาที่ห้ามเมื่อขณะมีอาการ Hypoxic spell ได้แก่ ยาที่ทำให้บีบ
หัวใจแรงขึ้น epinephrine, isoproterenol, และ cardiac glycoside
ได้แก่ digitalis
ถ้าเกิด Hypoxic spell ต้องรักษาทันที ลดmetabolism พักผ่อน
ให้ diazepam or chloral hydrate ให้ออกซิเจน knee chestposition ให้ iv fluid บวก glucose แก้ไขภาวะไม่สมดุลของกรดด่าง
แรกเกิดอาจให้ Prostaglandin E1 เพื่อเปิด Ductus arteriosus
ทารกจะรอดอีกระยะ เพื่อรอการรักษาด้วยการผ่าตัดต่อไป
ภาวะแทรกซ้อน TOF
o Cerebral abscess ฝีในสมอง
o Infective endocarditis
o Cerebral palsy สมองพิการ
o ความผิดปกติของเส้นเลือดในปอด
o ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
o ไม่รักษา มีโอกาสเสียชีวิตก่อนอายุ 10 ปีจากขาดออกซิเจนและสมองอักเสบ
o พบภาวะหัวใจวายหลังการผ่าตัดได้