Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กานพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา - Coggle…
กานพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา
ธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
อาการและอาการแสดง
พุงใหญ่เนื่องจากม้ามโต
ซีด โลหิตจาง
ตัวเล็กผิกปกติ หน้าผากตั้งชัน ตาเหลือง
อาจมีแผลเรื่อรังที่ขา
การพยาบาล
สอนผู้ป่วยเด็กและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ การรักษาความสะอาดร่างกายปากฟันและสิ่งแวดล้อม
ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีแคลเซียม ได้แก่ นม ปลาเล็กปลาน้อยและระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อป้องกันกระดูกหัก
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อการสร้างเม็ดเลือดเช่นโปรตีนวิตามินซีและอาหารที่มีโฟเลตสูงมีมากในผักต่าง ๆ และผลไม้หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
ดูแลการได้รับยา Folic acid เพื่อช่วยในการสร้างเม็ดเลือดแดง
ภายหลังได้รับยาขับเหล็กให้สังเกตลักษณะสีของปัสสาวะจะน้ำตาลแดง
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์โกลบิน ทำให้เม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นเกิดปัญหาซีดเรื้อรังตั้งแต่แรกเกิด
การรักษา
การรักษาทั่วไป อธิบายให้ผู้ป่วยและผู้ปกครองเข้าใจเกี่ยวกับโรคการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิด ภาวะแทรกซ้อน
การให้เลือด เพื่อเพิ่มปริมาณเม็ดเลือดแดงในร่างกาย
การผ่าตัดม้าม (Splenectomy) การผ่าตัดจะทำในกรณีที่ม้ามโตมากจนทำให้เกิดอาการอึดอัด หรือมีภาวะม้ามทำงานมากกว่าปกติ (Hypersplenism)
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก ซึ่งเป็นการรักษา โรคธาลัสซีเมียให้หายได้ ซึ่งจะช่วยให้มีการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ปกติในตัวผู้ป่วยได้
การให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์
โรคเกล็ดเลือดต่ำ Idiopathic Thrombocytopenic Purpura (ITP)
อาการและอาการแสดง
เลือดกำเดาไหล
เลือดออกในเยื่อบุต่างๆ
จุดจ้ำเลือดที่ผิวหนัง
ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติอื่นๆ
การรักษา
ส่วนใหญ่โรคหายได้เอง 70-80 %ภายในเวลา 1-2เดือน และจะไม่กลับเป็นซ้ำอีก
ควรให้กิน prednisolone เพื่อให้ผนังของหลอดเลือดแข็งแรงขึ้น
การพยาบาล
2.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีวิตามินซีจะช่วยเพิ่มจำนวนเกล็ดเลือดและช่วยให้หลอดเลือดแข็งแรง
หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เลือดออกเช่นหลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อหรือเจาะเลือดห้ามใช้ยา aspirin หรือ Ibuprofen
สาเหตุ
ระดับเกล็ดเลือดต่ำกว่า 20,000 เซลล์/ไมโครลิตร ถือว่ามีภาวะเกล็ดเลือดต่ำรุนแรง และอาจเกิดการมีเลือดออกในอวัยวะ
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง เนื่องจากโรคของไขกระดูกเอง
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดน้อยกว่า100,000 เซลล์/ไมโครลิตร ค่าปกติของเกล็ดเลือด เท่ากับ 140,000 –400,000 เซลล์/ไมโครลิตร
เกล็ดเลือดถูกทำลายมากกว่าปกติ เกล็ดเลือดถูกใช้ไปมากกว่าปกติ
ภาวะพร่องเอนไซม์ G-6-PD (G-6-PD Deficiency)
อาการและอาการแสดง
ซีดลงอย่างรวดเร็ว
ปัสสาวะดำเป็นสีโค๊ก (Hemoglobinuria)
ภาวะไตวาย เนื่องจากมีกรดยูริกเพิ่ม
จำนวนขึ้นไปอุดหลอดเลือดฝอยในไต
ตัวเหลืองภายหลังคลอดในทารกแรกเกิดที่
มีภาวะพร่องเอ็นไซม์ G-6-P-D
ภาวะซีดเรื้อรัง
การรักษา
การรักษาภาวะแทรกซ้อน เช่น ภาวะไตวาย
ให้เลือด ถ้ามีอาการซีดมากๆ
หาสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการซีด ได้แก่ ชนิดของยาหรือสารเคมีที่ได้รับก่อนเกิดอาการ
ทารกแรกเกิดที่มีอาการตัวเหลือง
สาเหตุ
เม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่าปกติ ทำให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดงอย่างเฉียบพลันถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบX – linkedส่วนใหญ่พบในเพศชาย
สารเคมี เสื้อผ้าที่อบด้วยลูกเหม็น
ยา ยารักษามาลาเรีย ยาปฏิชีวนะ เช่น chloramphenicol ยาแก้ปวด เช่น aspirin, paracetamal
อาหาร ถั่วปากอ้าดิบๆ
การติดเชื้อ: ไทฟอยด์ ปอดอักเสบตับอักเสบ ไข้หวัด มาลาเรีย
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจโรคสาเหตุอาการและการหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกไม่ควรซื้อยามารับประทานเองแจ้งแพทย์ทุกครั้งเมื่อเกิดเจ็บป่วย
แนะนำให้สังเกตอาการที่ควรมาพบแพทย์ ได้แก่ ซีดลงอย่างรวดเร็วอ่อนเพลียปัสสาวะมีสีโคล่าควรดูแลให้น้ำอย่างเพียงพอก่อนส่งโรงพยาบาล
ดูแลให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อการสร้างเม็ดเลือดเช่นโปรตีนวิตามินซีและอาหารที่มีโฟเลตซึ่งมีมากในผักต่าง ๆ และผลไม้
ทำบัตรประจำตัวผู้ป่วยระบุหมู่เลือดและโรงพยาบาลประจำ
Hemophilia
อาการและอาการแสดง
วัยทารกจะมีอาการจ้ำเขียวตามตัวหรือแขนขาเมื่อเริ่มหัดคลานตั้งไข่เดินจะมีน้ำเขียวมากขึ้นเมื่อฟันหลุดจะมีเลือดออกมากกว่าปกติ
อาการเลือดออกในข้อ (Spontaneous hemarthrosis) เป็นลักษณะเฉพาะของโรคข้อที่มีเลือดออกบ่อยที่สุดคือข้อใหญ่ ๆ เช่น ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อศอก ข้อนิ้วเท้า
ทารกหลังคลอดมักไม่มีอาการเลือดออกแต่มีจุดจำเขียวหรือมี cephathematorna ที่ศีรษะ
การพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อเพื่อป้องกันการมีเลือดออก
แนะนำให้ทำบัตรผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียหมู่เลือดและโรงพยาบาลที่รักษาประจำพกติดตัวเพื่อให้เด็กได้รับการรักษาที่เหมาะสมและถูกต้องเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
ผู้ป่วยมีอาการปวดข้อข้อบวมใช้ผ้ายืด (Elastric bandage) พันรอบข้อที่มีอาการปวดบวมและจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อหากปวดมากดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดพาราเซตามอลไม่ควรให้แอสไพรินหรือบรูเฟน
สาเหตุ
ฮีโมฟีเลีย B (Christmas disease) พร่องแฟคเตอร์ 9 พบได้ประมาณ 10-15% ของโรคฮีโมฟีเลีย
ฮีโมฟีเลีย C พร่องแฟคเตอร์ 11 พบ ได้ประมาณ 5 % ของฮีโมฟีเลีย อาการไม่รุนแรงมีการ
ฮีโมฟีเลีย A (Classical Hemophilia) พร่องแฟคเตอร์ 8 พบได้บ่อยที่สุด ประมาณ 80-85 % ของโรคฮีโมฟีเลีย
โรคไขกระดูกฝ่อ (Aplastic anemia)
อาการและอาการแสดง
Low Platelet
เลือดออกในอวัยวะต่างๆ มีจุดจ้ำเลือดตามลำตัวและแขนขา เลือดออกตามไรฟันและเลือดกำเดา เลือดออกในทางเดินอาหารทำให้มีอาการอาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด
Low RBC
ซีด เหนื่อยง่าย ชีพจรเบาเร็ว และถ้ามีการเสียเลือดร่วมด้วย ทำให้มีอาการซีดรุนแรงเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
การพยาบาล
สังเกตอาการแสดงของการมีเลือดออกทั้งทางผิวหนังและภายใน เช่นจุดจ้ำเลือดอุจจาระและปัสสาวะมีเลือดปนระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงปวดศีรษะตามัวแสดงถึงการมีเลือดออกในสมอง
สังเกตอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้จากการภูมิคุ้มกันของร่างกายและได้รับยากดภูมิ
หากมีเลือดกำเดาไหลให้ประสบความเย็นที่ดั้งจมูกหรือก๊อซชุบ adrenaline 1% อุดในรูจมูกข้างที่เลือดกำเดาออก
ดูแลให้ได้รับยา prednisolone, ฮอร์โมน androgen หรือยากดภูมิต้านทานสังเกตพิษจากยาตาตัวเหลืองบวมมีผื่นแดง
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ทำให้เกิดอุบัติเหตุหรือเลือดออก
สาเหตุ
2.ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
ภายหลัง เช่น การได้รับยาบางชนิด การได้รับสารเคมี
1.ความผิดปกติแต่กำเนิด(Congenital)
การรักษา
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่ไขกระดูกไม่ทำงานขั้นรุนแรง คือ ซีด เลือดออก และติดเชื้อรุนแรง ไม่ตอบสนอง
ต่อการรักษาด้วยยา โดยเปลี่ยนถ่ายไขกระดูกจากพี่น้องพ่อแม่เดียวกัน จะช่วยให้ ผู้ป่วยหายขาดจากโรคได้ถึงร้อยละ 80 -90
การรักษาด้วยฮอร์โมน ใช้ในผู้ป่วยเด็กที่มีอาการไม่รุนแรงมาก เนื่องจากฮอร์โมนAndrogen จะกระตุ้นให้ร่างกายมีการหลั่ง Erythropoietinซึ่งเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
การรักษาด้วยยากดระบบ Immune ได้แก่ Antilymphocyte Globulin (ALG),Antithymocyte Globulin (ATG) หรือ Cyclosporin
การรักษาตามอาการเป็นการรักษาประคับประคองตามอาการ ได้แก่ การรักษาด้วยการให้เลือด
Acquired Prothrombin Complex Deficiency (APCD)
อาการและอาการแสดง
อาการซีด
อาการตับโต ในผู้ป่วยเด็กบางราย
มีเลือดออกในสมอง ทางเดินอาหาร ผิวหนัง อาการมักเกิดอย่างเฉียบพลัน โดยไม่มีอาการเจ็บป่วยใดๆ นำมาก่อน ทารกมักมีอาการซีด ซึม ไม่ดูดนม ชัก หรือมีกระหม่อมหน้าโป่งตึง
มีจ้ำเขียวตามตัว หรือเลือดหยุดยาก
ในรายที่ไม่เสียชีวิตจากการมีเลือดในสมอง อาจมีอาการพิการทางสมองใน
การรักษา
ให้ Fresh Frozen Plasma ถ้าผู้ป่วยมีอาการเลือดออกรุนแรง เพื่อเป็นการเพิ่มโปรทรอมบิน คอมเพล็กซ์
ให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น (Packed Red Cell) ถ้าซีดมาก
เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้ว ให้วิตามินเค2-5 มิลลิกรัม เข้าทางหลอดเลือดดำ เป็นเวลา1- 3 วัน
สาเหตุ
ทารกแรกเกิดมีวิตามิน เค ในเลือดน้อยมาก
ทารกไม่ได้รับวิตามิน เค เมื่อแรกเกิด
ภาวะเลือดออกผิดปกติในทารกขวบปีแรก เนื่องจากขาดองค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือดตัวที่ 2 7 9 และ10
การได้รับอาหารเสริมที่ไม่ถูกต้อง
ซีดจากการขาดธาตุเหล็ก( Iron deficiency anemia )
อาการและแาการแสดง
ซีด : สีผิวหนัง ฝ่ามือฝ่าเท้า ริมฝีปาก เหงือก เปลือกตาด้านใน
ปวดศีรษะ เฉื่อยชา
เหนื่อยง่าย : เนื่องจากหัวใจต้องทำงานเพิ่มขึ้นในการที่จะหมุนเวียนเม็ดเลือดแดงที่มีน้อยลงให้นำออกซิเจนไปยังเซลล์ให้เพียงพอ
ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย ท้องผูก ท้องเสีย
การรักษา
2.แก้ไขปัญหาที่เป็นสาเหตุ เช่น การให้ยาถ่ายพยาธิ
3.การให้เลือด : มีภาวะซีดมาก หรือมีอาการแสดงของภาวะหัวใจวาย โดยให้เม็ดเลือดแดงเข้มข้น
1.การให้เหล็กโดยการกิน : Ferrous sulfate วันละ 3 ครั้ง ระหว่างมื้ออาหาร
สาเหตุ
ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย
พบในเด็กที่อายุต่ำกว่า5ปี
การดูดซึมที่ลำไส้ไม่ดีจากท้องร่วงเรื้อรังหรือการอักเสบของลำไส้
การวินิจฉัย
2.ตรวจร่างกาย : ฝ่ามอฝ่าเท้าซีด เยื่อบุตา
3.ตรวจทางห้องปฏิบัติการ : เม็ดเลือดแดงเล็กและติดสี
1.ซักประวัติ : การตั้งครรภ์ของมารดา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอและอาหารที่มีธาตุเหล็กมากเช่นเนื้อสัตว์ตับ เครื่องในสัตว์ เลือดหมู นม ผักใบเขียว
แนะนำมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาเพราะช่วยให้การดูดซึมธาตุเหล็กของทารกดีกว่านมผสม
ดูแลให้ได้รับยา Ferrous sulfate
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหานีโอพลาสมา
มะเร็งที่ต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
อาการและอาการแสดง
ตับม้ามโต
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา
ผสมผสานระหว่างเคมีบำบัด รังสีรักษาและการปลูกถ่ายไขกระดูก
ยาเคมีบำบัดที่ได้ผลดี:Cyclophosphamide, Vincristine, เพรดนิโซโลน
สาเหตุ
Lymphoma จะถูกแบ่งออกเป็น2ชนิด
2.Lymphoma( non-Hodgkins’s Lymphoma หรือ NHLs)
1.Hodgkin’s Lymphoma (Hodgkin’s Disease ,HL)
กลุ่มโรคที่เกิดจากการแบ่งตัวของ
เซลล์ในต่อมน้ำเหลืองผิดปกติ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส การได้รับยากดภูมิคุ้มกันเป็นระยะเวลานานๆ
ระยะของโรค
Stage II เป็นต่อมน้ำเหลืองหลายกลุ่ม แต่ยังอยู่ด้านเดียวกันของกระบังลม
Stage III เป็นต่อมน้ำเหลืองทั้งสองข้างของกระบังลม หรือเป็นที่ต่อมน้ำเหลืองและอวัยวะอื่นๆ อีก 1 แห่ง
Stage I เป็นที่ต่อมน้ำเหลืองต่อมเดียวหรือกลุ่มเดียว หรือเป็นเพียงแห่งเดียว ยกเว้นตับ ปอด ไขกระดูก
Stage IV เป็นที่อวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย ทั้งในต่อมน้ำเหลืองและนอกต่อมน้ำเหลือง เช่น ตับ ปอด ไขกระดูก ระบบประสาทส่วนกลาง
มะเร็งที่ไต (Wilm’s tumor)
อาการและอาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง
เบื่ออาหาร ปัสสาวะเป็นเลือด และมีอาการซีด
ความดันโลหิตสูง
การรักษา
ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก
รังสีรักษา ที่บริเวณตำแหน่งของโรค
ให้เคมีบำบัด
ห้ามคลำท้อง
สาเหตุ
ภาวะเนื้อไต มีการเจริญเติบโตผิดปกติกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
มะเร็งในเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
อาการและอาการแสดง
ไข้ ซีด เลือดออก ปวดข้อหรือปวดกระดูก
ตับ ม้าม และต่อมน้ำเหลือง มีขนาดโต มีก้อนที่คอหรือในท้อง
การรักษา
การให้เคมีบำบัด
การแก้ไขภาวะซีด ภาวะติดเชื้อ
การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
สาเหตุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน จำแนกได้เป็น 2 ชนิดหลัก
1.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอิลอยด์(Acute Myeloid Leukemia – AML) เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิดมัยอิลอยด์ พบได้บ่อยกว่าชนิดลิมฟอยด์ ถึงแม้มะเร็งชนิดนี้จะสามารถพบได้ทุกช่วงอายุ แต่มักจะพบบ่อยในผู้ป่วยสูงอายุ
2.มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมฟอยด์(Acute Lymphoblastic Leukemia – ALL) เกิดจากความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวชนิดลิมฟอยด์มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยหรือผู้ป่วยสูงอายุ
รังสี ยา พันธุกรรม ติดเชื้อ
มีความผิดปกติของเม็ดเลือดขาวที่มีการสร้างเม็ดเลือดขาวทั้งในรูปของตัวอ่อนและตัวแก่ออกมามากมายและควบคุมไม่ได้ ทำให้มีจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนแทรกอยู่ในไขกระดูกและอวัยวะต่างๆเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วย
มะเร็งที่เซลล์ประสาท (Neuroblastoma)
สาเหตุ
มะเร็งเกิดจากเซลล์ประสาทอ่อน(Neural crest) พบโรค ได้ตามแนวของเส้นประสาทซิมพาเธติค
ก้อนเนื้องอกมักเป็นก้อนขนาดใหญ่ที่เกิดจากการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ประสาทอ่อน (neural crest)
ไม่ทราบแน่นอน แต่เนื่องจากเป็นเนื้องอกที่พบมากในวัยเด็ก และมีรายงานพบว่ามีผู้ป่วยหลายคนในครอบครัวเดียวกัน
จึงมีข้อสันนิษฐานว่าอาจมีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
อาการและอาการแสดง
มักพบที่บริเวณต่อมหมวกไตชั้นเมดัลลา (adrenal medulla) มีอาการท้องโตหรือคลำก้อนได้ในท้อง
ถ้ามีการแพร่กระจายของมะเร็งอาจมีตาโปน
เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง ซีด อ่อนเพลีย ปวดกระดูก
การรักษา
การผ่าตัด เหมาะกับกรณีที่มะเร็งอยู่ในระยะเริ่มแรก ก้อนมีขนาดไม่ใหญ่มากและอยู่ในตำแหน่งที่ไม่สำคัญ
การให้รังสีรักษา หลังผ่าตัด
ผลข้างเคียง
ผลข้างเคียงที่เกิดทันที (Acute effect) เป็นอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นระหว่างที่ได้รับการรักษาหรือภายหลังจากการรักษาภายในระยะเวลาไม่นาน อาการข้างเคียงชนิดนี้มักจะเกิดขึ้นระหว่างที่ผู้ป่วยเด็กได้รับรังสีรักษาหรือภายหลังจากการรักษา ได้แก่ เซลล์เยื่อบุผิวหนัง เยื่อบุช่องปาก ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะปัสสาวะ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการถ่ายเหลว ถ่ายเป็นมูกเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด เป็นต้น แต่อาการข้างเคียงชนิดนี้จะดีขึ้นหลังจากหยุดการให้รังสีรักษา
ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นภายหลัง (Late effect) เป็นอาการข้างเคียงที่เกิดขึ้นภายหลังจากการฉายรังสีไปแล้วเป็นระยะเวลานานพอสมควร
การให้ยาเคมีบัดบัด
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้อาเจียน
เบื่ออาหาร
ปากอักเสบ/แผลในปาก
ท้องผูก
การกดไขกระดูก
ผมร่วง
อ่อนเพลีย
การปลูกถ่ายไขกระดูก